25 ธันวาคม 2554

เมอรี่คริสมาสแอนด์แฮปปี้นิวเยียร์ 2012 555

เมอรี่คริสมาสแอนด์แฮปปี้นิวเยียร์ 2012 555
จากสภาวะการณ์หลังน้ำท่วม จะมีสารอินทรีย์จำนวนมากตกค้างอยู่ในกรุงเทพที่พื้นที่ส่วนใหญ่ราดด้วยปูนซีเมนต์ พร้อมทั้งการเปียกน้ำของ
วัสดุต่างๆภายในบ้าน จะก่อให้เกิดเชื้อราขึ้น และช่วงนี้เป็นช่วงที่จะเกิดสปอร์ของเชื้อราขึ้นจำนวน
มหาศาลในพื้นที่น้ำท่วมหลายจังหวัด ซึ่งเมื่อรวมกับฝุ่นที่เกิดจากตะกอนที่มาตามน้ำ ฝุ่นควันไอเสียน้ำมันรถ ฝุ่นดอกยางจากการสึกหรอ ฝุ่นผ้า
เบรครถยนต์ แล้ว จะก่อให้เกิดอาการภูมิแพ้ขึ้นได้ง่ายกว่าเดิมมาก โดยเฉพาะสภาพอากาศเช่นนี้ จะส่ง
ผลต่อสุขภาพในระยะยาว  ถึงแม้คราบเชื้อราจะถูกขจัดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ(โซเดี้ยมไฮโปคลอไรด์คลอรีนไฮเตอร์ไฮยีนหรือน้ำยาล้างห้องน้ำ
ประเภทกรดแต่ที่ปลอดภัยได้แก่น้ำมะกรูดมะนาวน้ำส้มสายชู)แล้ว แต่ฝุ่นของซากเชื้อราที่ตายแล้วยังส่งผล
ต่อสุขภาพภูมิแพ้ได้เช่นเดิม อย่าเสียดายของที่เปียกชื้นขึ้นราโดยเฉพาะที่นอน ผ้าห่ม เสื้อผ้าควรซักด้วยเปาซิลเวอร์นาโน หรือผสมด้วยสบู่ที่มี
ส่วนผสมของไททาเนี่ยมไดอ็อคไซด์   เหยาะด้วยแชมพูเคลียร์หรือเฮดแอนด์โชว์เดอร์จะดีมากขึ้น
หน้ากากที่กันสปอร์เชื้อราอย่างได้ผลคือ หน้ากากครอบชนิด N95  (เมื่อประมาณ 10ปีก่อนเคยพบว่าวางขายอยู่ในวัตสัน) หาซื้อได้ที่ร้านขาย
อุปกรณ์ทางการแพทย์แถวๆศิริราช หรือย่านอนุเสาวรีย์ชัย ตรงข้าม รพ.ราชวิถี หรือ รพ.เด็ก ถ้าอยู่ใน
กรุงเทพพยายามใส่ให้เคยชิน บ่อยๆ จำนวนคนเป็นมะเร็งปอดเสียชีวิตสูงมากในแต่ละปี คนเป็นมะเร็งเสียชีวิต สูง กว่า ยอดอุบัติเหตุปีใหม่
สงกรานต์เสียอีก 
การใส่หน้ากากกันฝุ่นยังช่วยได้ในเรื่องการคงอุณหภูมิความอุ่นในระบบทางเดินหายใจด้วย ช่วยให้เมือกดักจับเชื้อได้ดีขึ้น และลดน้ำมูกด้วย
ซึ่งภูมิปัญญาชาวบ้านได้แก่การใช้ ผ้าขาวม้าปิดจมูก พันคอ  และ การใช้ผ้าคลุมหน้าของอิสลามชน
เชื้อราที่อันตรายมากได้แก่เชื้อ อะฟลาท็อกซิน ที่มีแหล่งเพาะที่เหมาะสมได้แก่ผงแป้ง  ถั่วเหลือง ข้าวโพด ข้าว หัวหอม โดยเฉพาะบริเวณที่มี
ความชื้น
แอร์ที่เหมาะสมสำหรับการฆ่าเชื้อและดักประจุไฟฟ้าที่ออกจากเครื่องไว้ ได้แก่ แอร์ชาร์ป พลาสม่าคลัสตอร์
สำหรับผู้ที่ใช้แอร์ชนิดปล่อยประจุลบอยู่ ควรหามุ้งมากางตอนนอน หรือใช้วิธีแง้มหน้าต่างที่มีมุ้งลวดเป็นร่องเล็กๆเพื่อถ่ายเทประจุเล็กน้อย
แต่ไม่ควรเปิดกว้างไปมิฉะนั้นจะเกิด ความชื้นสูงในห้อง สำหรับผู้ที่อยู่ต่างจังหวัดและห่างจากถนนใหญ่
เกิน1กิโลเมตร หรือห่างจากซุปเปอร์ไฮเวย์เกิน10กิโลเมตร สามารถใช้วิธีติดพัดลมดูดอากาศได้  ห้องที่ติดแอร์ไม่ควรปิดสนิทจนเกินไป
ป้องกันท่อน้ำยาแอร์รั่วในห้องขณะนอน
ยางรถยนต์ที่มีนโยบายลดสารก่อมะเร็งในฝุ่นเนื้อยางรถยนต์ได้แก่ยี่ห้อ IRC แต่ท่านต้องแนะนำเพื่อนๆและญาติของท่านทุกคนให้เปลี่ยนมา
ใช้ยี่ห้อนี้ จึงจะเกิดผลต่อสุขภาพของคนทั้งประเทศ
สำหรับรถยนต์ที่ชื้นแล้วให้หาเครื่องฟอกอากาศเสียบที่จุดบุหรี่มาใช้ วัสดุที่เป็นประจุบวกจำนวนมากในรถ และปริมาณอากาศที่ซึมผ่านเข้ารถ
ในขณะวิ่ง จะทำให้ประจุลบไม่มากจนเกินไปนัก
จุลลินทรีย์ซุปเปอร์เซฟ มีขายที่เซเว่นอีเลเว่น แต่การใช้หัวสเปรย์ฉีดผ้าสำหรับกำจัดคราบในบ้านจะค่อนข้างต้องออกแรงหนักไปหน่อย หัว
ฉีดพ่นสำหรับการเกษตรจะค่อนข้างสะดวกได้บริเวณที่กว้างกว่ามากต่อการฉีดแต่ละครั้ง หาซื้อได้ที่แถว
สวนจตุจักร
ส่วนผสมจุลลินทรีย์ซุปเปอร์เซฟในซองเมื่อผสมน้ำจะอยู่ได้ประมาณ 3วัน ถ้าต้องการยืดช่วงเวลาของจุลลินทรีย์ให้เติมน้ำตาลลงไปอีก หรือนำ
ไปเพาะเพิ่มในน้ำปลอดคลอรีนผสมน้ำตาล
หัวเชื้อจุลลินทรีย์ EM ผู้ศึกษาเรื่องนี้ชาวญี่ปุ่นยืนยันว่าคนกินก็ไม่เป็นไร แต่จุลลินทรีย์ซุปเปอร์เซฟน่าจะกินขจัดคราบได้ดีกว่า
อากาศในช่วงนี้ ควรลดอาหารที่มันจัด ที่มีส่วนผสมของพริกป่นละเอียด สไปซ์ซี่ทั้งหลาย เพราะความมันจะทำให้ละอองพริกป่นละเอียดลอย
ไปค้างในช่องทางเดินหายใจ เยื่อบุระคายเคือง อักเสบได้ง่าย รวมทั้งกากกระเทียมเจียวด้วย อาหารที่เป็น
พริกแห้งตำ หรือพริกสดจะปลอดภัยกว่า  อาหารพื้นเมืองดั้งเดิมของภูมิภาคอุษาคเนย์ ปรกติเป็นการ ต้ม นึ่ง ปิ้ง อบ ส่วนการทอดด้วยน้ำมันนั้น
มาจากจีนที่มีสภาพอากาศหนาวกว่ามาก และน้ำมันไม่ว่าชนิดใดมักมีปัญหาต่อสุขภาพเสมอ แม้แต่น้ำมัน
จากพืช  ที่มีผลข้างเคียงน้อยได้แก่ น้ำมันจากชา  น้ำมันงา น้ำมันดอกทานตะวัน  น้ำมันมะกอกที่ควรใช้ควบคู่กับไวน์ และกระเทียมเพื่อลดการ
อุดตันในหลอดเลือด    แต่ทั้งนี้น้ำมันพืชส่วนใหญ่จะผ่านกรรมวิธีการสกัดและเติมไนโตรเจน เพื่อให้
อิ่มตัวไม่เกิดหืนโดยเฉพาะน้ำมันรำข้าว ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบนึงของ ไขมัน โปรตีน และเมลานีน โครงสร้างการสกัดทางเคมีทำให้ใส
อาจจะมีผลต่อไตร่างกาย
หลีกเลี่ยงการนอนในระดับผิวดินโดยไม่มีเต้นท์ที่มิดชิด มีระบบระบายอากาศด้านบน  ละอองดอกหญ้าที่มากับหมอกจะส่งผลต่อระบบทาง
เดินหายใจได้ ถ้าจะออกกำลังกายตอนเช้าควรรอให้หมอกสลายก่อน
ปรกติพืชจะมีการสร้างสารบางชนิดออกมาป้องกันแมลง ศัตรูพืชกัดกินตามธรรมชาติอยู่แล้ว พืชที่ผ่านการ GMO ระดับสารนี้จะเพิ่มขึ้นมาก
พร้อมๆกับระดับเอสโตรเจนที่สูงขึ้นมาก  มะละกอในไทยน่าจะติดแพร่เกษรGMO หมดแล้ว จากแปลง
ทดลองที่ขอนแก่น แถมยังมีห้างนำเข้ามะละกอสุกจากฮาวายที่เป็นถิ่นมะละกอGMOมาอีก  ถั่วเหลืองและข้าวโพดก็เช่นกัน ไม่เคยมีมาตรการ
ที่ดีพอที่จะรับGMOเลย ถึงแม้บางค่ายเช่นโอวัลตินจะยืนยันว่าถั่วเหลืองที่นำมาใช้มีใบเซอร์รับรอง แต่ถ้า
เป็นการนำเมล็ดมาปลูกในประเทศแล้วค่อยนำมาขายให้ ก็ไม่อาจจะยืนยันได้ว่าปลอด GMO ได้ 100% จากการแพร่ของเกษร นอกจากรัฐจะมี
มาตรการเคลียร์เมล็ด ใช้GMOให้หมดประเทศจนเกลี้ยง แล้วค่อยนำเข้าพันธุ์มาปลูกใหม่   ดังนั้นค่ายที่
ขายอาหารเครื่องดื่มจากถั่วเหลือง จึงมี ดีอินวันเพียงเจ้าเดียวที่กล้านำเรื่องปลอด GMO มาทำการตลาด  การที่ผู้หญิงมีอายุยืนเฉลี่ยสูงกว่าผู้ชาย
น่าจะเกิดจากการปรับตัวของร่างกาย ตอนเอสโตรเจนลดลงในช่วงวัยหมดประจำเดือนด้วย การเกิดสาร
อื่นๆในร่างกายจึงลดลงไปด้วย รวมทั้งผู้หญิงทนสภาวะกรดได้ดีกว่า ปัจจัยหนุนอีกประการน่าจะมาจากลักษณะนิสัย และวิถีชีวิตมีความเสี่ยง
ภัยน้อยกว่า
น้ำอัดลมมีสภาวะเป็นกรด ที่จะลอกเยื่อในทางเดินหายใจ หลอดอาหารได้ง่ายมาก  สามารถนำไปล้างโถห้องน้ำได้เลยทีเดียว ถ้าอดไม่ได้จริงๆ
ให้เติมเกลือลงไปสักครึ่งช้อนชาสำหรับผู้ที่ไม่ได้เป็นโรคไตหรือความดัน หรือใช้ยาลดกรดบดผสมก็ได้
ไม่รู้ว่าสูตรที่เป็นความลับทางการค้าของน้ำอัดลมผ่าน อยโดยไม่เปิดเผยในแต่ละประเทศได้ยังไง ไม่รู้ว่ามีถ่านโค้ก หรือถ่านต้นโคคาผสมอยู่
หรือไม่  น้ำดื่ม RO ก็เช่นกัน สามารถเติมเกลือสัก 5-6 เกล็ด ลงไปก่อนดื่ม สำหรับผู้ที่กลัวสภาวะดูดซึมแร่
ธาตุออกจากร่างกาย   แต่ถ้าใช้ แคลเซี่ยมเม็ด จะเป็นคาร์บอเนตในน้ำ  หรือใช้เป็นผงเกลือแร่ หรือหาแคลเซี่ยม อะมิโนธรรมชาติ เช่นงาดำมาใช้  ซึ่งแนวทางนี้น่าจะใช้สำหรับผู้ป่วยได้ด้วย  ถ้าคนเป็นโรคไตสามารถใช้น้ำตาลอ้อยผงได้ แต่เก็บไว้นานมากไม่ได้ ต้องแช่เย็น  วังขนายผลิตน้ำตาลออแกนิกส์แล้ว
 น้ำค้างบนยอดหญ้ามีค่า PH เท่ากับเลือด
มีบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปบางรุ่นเท่านั้นที่มีการแยกพริกผงป่นละเอียดออกจากเครื่องปรุงที่ส่วนใหญ่มีรสเป็นกรดแล้วก็อุดมไปด้วย ผงชูรส(มีการ
ทดลองในหนูพบว่าสมองยุบหายไปแหว่งนึง ปัจจุบันผงชูรสพยายามซ่อนรูปในชื่อเครื่องปรุงรส ดี) มาม่าบางรุ่นมีการผสมพริกให้เป็นสารละลาย แต่เวลาใช้ก็ไม่ควรเติมหมดซอง และมี
บางรุ่นเท่านั้นที่มีการเติมไอโอดีน ทั้งๆที่ปรกติเกลือมีกฎภาคบังคับให้เติมไอโอดีนอยู่ และมีบางยี่ห้อเท่านั้นที่มีเครื่องปรุงจากส่วนผสมจริงที่
ลดกรดไปได้มาก ไม่ใช่การสังเคราะห์จำลองรส
เกลือที่ถูกนำมาบรรจุเพื่อจำหน่ายส่วนใหญ่จะผสมแมกนีเซียมไบคาร์บอเนต และซิลิเกต ตามสัดส่วน เพื่อป้องกันไม่ให้เกลือจับตัวเป็นก้อน
เมื่อโดนความชื้น และไอโอดีนที่ผสมมักจะเป็น  โปแตสเซียม ไอโอเดท
เหมืองเกลือพิมายหรือ อาซาฮี ในนามบริษัทไทยอาซาอีโซดาไฟ จำกัด  โดยขอรับอนุญาตจากกรมทรัพยากรธรณี เพื่อทำเหมืองละลายเกลือขึ้น
ที่ตำบลตลาดแค อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา โดยตั้งเป้าการผลิตไว้ปีละ 40,000 ตันบนเนื้อที่ 400 ไร่
ด้วยข้อจำกัดของฤดูกาล ทำให้บริษัทสามารถ ทำนาเกลือจากเหมืองละลาย ได้เต็มที่เพียง 6 เดือน/ปี ระยะเวลาการผลิตจะอยู่ในช่วงฤดูแล้ง คือ
ระหว่างเดือนธันวาคมถึงพฤษภาคมได้เพียง 18,000-20,000 ตัน เท่านั้น ทางบริษัทจึงซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีก
100 ไร่และสั่งซื้อเกลือเพิ่มจากท้องที่ อ.บรบือ จ.มหาสารคามอีกปีละ 1 ถึง2 หมื่นตัน  จากข้อมูลนี้ ความเสี่ยงที่จะปนเปื้อนสารอื่น อยู่ที่อัตรา
ครึ่งนึงที่ผลิตจากแหล่งพิมาย ที่มีหินภูเขาไฟ อันอุดมไปด้วยสารต่างๆมากมาย รวมทั้งซัลเฟอร์ กำมะถัน ซัลเฟตของตะกั่ว  ซึ่งเหมาะแก่การปลูกพืชมากกว่า
แต่ยังถือว่าอัตราการปนเปื้อนน่าจะยังต่ำกว่าเกลือทะเลในปัจจุบัน ที่มีธาตุโลหะหนัก มากกว่าสมัยก่อน ถึงในทะเลจะมีธาตุอาหารมากก็ตาม  โคราชเคยมีแผ่นดินไหวหลังสุดที่ปากช่อง ถ้ามีการแผ่รังสี เกลือสินเธาว์
น่าจะได้รับผลกระทบไม่มากนัก เนื่องจากอยู่ไกล  แต่จากการที่มีทหารหลายนายที่เคยประจำการที่โคราชมี
อาการทางจิต รวมทั้งทหารที่เฝ้าบ้านพักป๋าเปรมด้วย ก็ไม่ควรไว้วางใจเกลือแหล่งโคราชให้มากนัก อันเนื่องจากโคราชก็มีสนามบินด้วย ไม่แน่
ใจว่ามีการขนสารเคมีผ่านบริเวณนั้นหรือเปล่า แต่การที่กองทัพอากาศจะย้ายมาใกล้รอยเลื่อนบริเวณนี้ จะ
เป็นการเอาความมั่นคงมาวางเดิมพันด้วย
ที่น่าจะยังมีความปลอดภัยสูงน่าจะเป็นเกลือ อ.บรบือ จ.มหาสารคาม แต่กำลังการผลิตน่าจะออกได้ต่ำ เนื่องจากรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์
มีคำสั่งปิดกิจการผลิตเกลือสินเธาว์ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฏาคม 2523 ในเขตลุ่มน้ำเสียวทั้งหมด เนื่องจาก
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อลุ่มแม่น้ำ  ยังไม่มีโรงงานน้ำปลาในลุ่มแม่น้ำนี้ โรงงานโซเดี้ยมคลอไรด์ รวมทั้งการปลูกสาหร่ายที่อุดมไปด้วยไอโอดีนด้วย  ถึงแม้จะมีการออกกฎให้ต้องใช้โซเดี้ยมคลอไรด์สำหรับอุตสาหกรรม ที่ 96%  ซึ่งเป็นการบังคับให้ใช้เกลือสินเธาว์ เพราะเกลือทะเลผลิดโซเดี้ยมคลอไรด์ได้เพียง 95% เท่านั้น  แต่สินค้าที่ขายในท้องตลาดปัจจุบัน ก็ใช้แต่ เกลือ  มีสินค้าที่มีสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indications: GI) ในพื้นที่ที่ปลอดภัยน้อยมาก  โรงงานน้ำปลาส่วนใหญ่อยู่ใกล้ทะเล  ลองสอบถามหลายแหล่ง  โซเดี้ยมคลอไรด์ เกรด บริโภค ล้วนมาจากแหล่งพิมาย แต่สินค้าที่เขาส่งขายล้วนระบุเป็นเกลือสำหรับตลาดส่วนใหญ่ของประเทศ ทางที่ดีสั่งเกรดแล็ปยามาใช้ในอาหารดีกว่า
ในไอซ์แลนด์มีการใช้เกลือเกรดอุตสาหกรรมไปผลิตอาหารมานานกว่า 13 ปี เกลืออุตสาหกรรมบางเกรดจะเป็นเกลือ สำหรับ ละลายหิมะ ผลิตสารเคมี
ควรทำความสะอาดขจัดคราบหัวฝักบัวอาบน้ำอุ่นบ่อยๆ  ท่านที่ใช้น้ำยาบ้วนปากควรผสมด้วยน้ำที่ปลอดคลอรีน ท่านที่อยู่ในภาคอีสาน ระดับ
ฟลูออไรด์ในน้ำธรรมชาติจะสูงอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องใช้ยาสีฟันฟลูออไรด์รบกวนภูมิต้านทานเช่นเดียว
กับคลอรีน ยาสีฟันบางยีห้อผสมไททาเนี่ยมไดอ็อคไซด์ด้วย  http://multicolorzone.blogspot.com/
ไททาเนี่ยมไดอ็อคไซด์ 50 นาโน ถ้าซึมผ่านเซลล์เข้าไปตามเส้นเลือดถึงเยื่อปอด จะสร้างประจุลบ ออกมาดูดติดฝุ่นควัน

มีการใส่ใน ยาสีฟัน สบู่ ยาสระผม ครีมทาผิว ก่อนใช้ อย่าลืมโทรเช็คขนาดนาโนจากผู้ผลิต

ไม่ควรใช้เครื่องดูดฝุ่นโดยไม่มีหน้ากากกันฝุ่น N95 โดยเฉพาะถ้าอยู่ในบ้านที่ติดมุ้งลวด ฝุ่นที่เล็กละเอียดจะออกมาจากถุงร่องระบายอากาศ

ดูป็องค์  จะมอบของขวัญให้กับ ชาวโลก ด้วยการวิจัยหา สารเทฟล่อน ที่ไม่เกิดก๊าซพิษขึ้นระหว่างการผัดทอด อบอาหารด้วยความร้อนสูง ได้
หลัง ปี 2012 
ท่านที่มีบ้านอยู่ใกล้โรงซ่อมอบสีรถยนต์ควรขยับขยายหาที่อยู่ใหม่ซะ ร้องเรียนไปก็มักจะเงียบ  แต่ถ้าอู่นั้นใช้เทคโนโลยีการพ่นสีด้วยประจุ
ไฟฟ้าของดูป็องค์ มลพิษจากสีจะค่อนข้างต่ำกว่าหน่อย ควรออกกฎบังคับให้ใช้ระบบ พ่น อบสีด้วยประจุไฟฟ้า สำหรับโรงซ่อมในชุมชน
เดิมทีภูมิภาคนี้มีการใช้แป้งจากธรรมชาติ เช่น แป้งดินสอพอง ทานาคา  แป้งร่ำ หรือไม่ก็เป็นแป้งที่ผสมในขวดน้ำ จึงไม่มีผลต่อสุขภาพ ปอด
ทางเดินหายใจ  แต่ถ้าท่าน ติดผงแป้งฝุ่น เลิกกับแป้งไม่ได้จริงๆเลือกเป็นแป้งที่ผสม ขมิ้น จึงจะทำให้เชื้อ
ขยายตัวได้ยากกว่า
ท่านที่เพิ่งเริ่มอาการป่วย สามารถใช้เทคนิค อโรม่า กระตุ้นภูมิต้านทาน ด้วย น้ำมันหอมระเหยยูคาลิปตัส  เกรด ตรานกแก้วจะค่อนข้างได้ผล
กว่ายี่ห้ออื่น ใส่หน้ากาก และกินให้เค็มขึ้นนิดนึง เติมเกลือในน้ำใช้ไอโอดีนไปกระตุ้นภูมิต้านทาน  อาบ
แดดตอนเช้ากระตุ้นเมลานินและวิตามินดี  ถูด้วยสบู่ที่มีส่วนผสมของไททาเนี่ยมไดอ็อคไซด์ สร้างประจุลบออกมาฆ่าเชื้อ  กลางคืนนอนใน
ห้องมืดๆ ไม่ควรเปิดไฟตอนเข้าห้องน้ำถ้าสายตายังดี เพื่อไม่ให้สาร ..โทนินหยุดทำงานซ่อมสร้างร่างกาย
เลือกสบู่ยี่ห้อโลว์เกรดหน่อยๆ ป้องกัน อนุภาคนาโนที่เล็กเกินไปจนไปตามกระแสเลือด เข้าถึงระบบประสาทส่วนกลางและเยื่อปอด ขนาด
ของอนุภาคนาโน ของแต่ละยี่ห้อ สอบถามได้จากคอลเซ็นเตอร์  ถ้าใช้โดยไม่เลือกท่านอาจ วิวัฒนาการจาก
มนุษย์ผิวประจุไฟฟ้า กันรังสี จากปรากฎการณ์ โฟโตคะตะไลซิส เป็นมนุษย์ไฟฟ้าไซบอร์คไททาเนี่ยม รายละเอียด หาได้จาก ขนาดอนุภาคนา
โนไททาเนี่ยมไดอ็อคไซด์ เนื่องจากปัจจุบันอุตสาหกรรมเครื่องสำอางค์ได้ทุ่มเงินจำนวนมหาศาลวิจัยจน
ถึงระดับ พิโค แล้ว ผลกระทบทางพิษวิทยาต่อเซลล์ที่เกิดจากประจุมีรายละเอียดน้อยมาก เครื่องสำอางค์บางยี่ห้อระบุว่าสารจะไม่ซึมลึกกว่าชั้น
ผิว แต่ขัดแย้งกับข้อมูลงบประมาณการทุ่มวิจัยความเล็กละเอียดของอนุภาคของสารต่างๆ ลดปริมาณการ
กินอาหารจำพวกแป้งลงจากเดิม เนื่องจากอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล จะค่อนข้าง มีช่องว่างที่จะจับกับไอโอดีนได้ดี เส้นก๋วยเตี๋ยวที่ไม่ได้
เคลือบน้ำมันตอนผลิตได้แก่เส้นหมี่  นี่แหละจึงเป็นที่มาของ ของศีลอด และเทศกาลกินเจ  และมีสัตว์บาง
ชนิดที่มีการจำศีล พระพุทธเจ้าสอนให้กิน 2 มื้อ ลดอาหารเย็น มากว่า 2600 ปีแล้ว แต่ก็น่าจะเหมาะสำหรับผู้ที่อายุ 23ปีขึ้นไปแล้วมากที่สุด     และมื้อที่ สอง ควรเป็นช่วงบ่ายๆ ถ้าไม่ติดความสะดวกเวลาเพลของญาติโยม ลงนาสวน แต่ ปัจจุบันมีตู้เย็นแล้ว ระบบสร้างกรดการย่อยของมนุษย์ ควรมีเวลาพัก การกินอาหารควรห่างกันอย่างน้อย 4-6 ชั่วโมง เพื่อให้ร่างกาย ปรับสมดุลย์ ความเป็นด่าง ลดการเกิดอนุมูลอิสระ ที่ส่งผลต่อมะเร็ง

ทฤษฏีอย่าเชื่องมงายไร้เหตุผล ตามหลัก  10 ประการ (กาลามสูตร)  
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=1426                                       http://www.easyinsurance4u.com/buddha4u/kalamasutta.htm
 จากการสำรวจสินค้าสบู่แบบโมเดิร์น พบว่า ไม่ ไททาเนี่ยมไดออกโซด์  ก็ไตรโคลซาน  แต่ดีที่ สบู่สมุนไพร เริ่มมีวางขายในเซ
เว่นแล้วนะ  ครีมทาผิว และแชมพูสระผม มีการใช้ไททาเนี่ยมไดออกโซด์กันเกือบทุกยี่ห้อ  จากการสำรวจ
แชมพูพบว่า มีเพียงแชมพูเคลียร์หรือเฮดแอนด์โชว์เดอร์ เท่านั้นที่ ใช้ Zinc ที่ร่างกายมนุษย์ต้องการใช้ ยาสระผมจากสมุนไพรจริงๆค่อนข้าง
หายาก   น้ำมันมะพร้าว ปัจจุบันราคาสูงขึ้นมาก เนื่องจากอุตสาหกรรมเครื่องสำอางค์นำไปใช้เป็นส่วนผสม
เกือบทุกยี่ห้อ แต่น้ำมันมะกอกเปล่าๆราคายังไม่สูงมากนัก    อุตสาหกรรมเครื่องสำอางค์ได้คิดค้นและสรรหาเครื่องสำอางค์ประดับรอบดวงตา
ที่มีโอกาสระคายเคืองดวงตา อวัยวะที่ซ่อมยาก เป็นอันมาก  จริงๆแล้ว ผู้ชายจะดูหุ่น เล็งนม มองหน้า
แล้วค่อยสบตาทีหลัง ความเข้มรอบดวงตาเป็นเรื่องปลีกย่อย ที่จะดูดีเป็นภาพศิลป์สะท้อนในกระจกตอนตาปรือเท่านั้น  ถ้าคุณพยายามไป
ศัลยกรรมให้ใบหน้าดูสมดุลย์ จุดเด่นของการจดจำรูปลักษณะคุณต่อผู้อื่นจะลดลงด้วย
ถ้าท่านกินน้ำมันมะพร้าว หรือกระทิ จะเป็นการส่งสารไปบำรุงชั้นผิวได้ดีกว่าการทา แต่ต้องควบด้วยเกลือ กระเทียม หรือไวน์แดง
ค้นหาข้อมูลจากคีย์เวิร์ด  อาหารต้านหวัด อาหารแก้มะเร็ง  น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น  อาหารที่เป็นเบส ต้นข้าวสาลีอ่อน  ไรฝุ่น  ภูมิแพ้  ขนาด
อนุภาคนาโนไททาเนี่ยมไดอ็อคไซด์   สปอร์รา  อะฟลาท็อกซิน เกษรดอกหญ้า  สปอร์แอนแทร็กซ์ นม  เกลือ
หนังวัว ข้าว สนามบินฐานทัพสหรัฐ 12 แห่ง  multicolorzone
นม สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ระดับนึง หลังการดื่ม น้ำมูกจะไหลเพิ่มขึ้นเล็กน้อย   แต่ เนื่องจาก ระบบส่งบำรุงกำลังของทหารสหรัฐที่เข้ามา
ตั้งฐานในอดีตที่อุดร คาดว่าจะมีการนำเข้าเนื้อวัวมาปลอบขวัญทหารด้วย เคยมีข่าวเรื่องเชื้อแอนแทรกซ์
ในไทยอยู่ครั้งสองครั้ง แล้วก็เงียบหายไป แม้แต่ประชาชนของสหรัฐที่เป็นต้นกำเหนิดส่วนใหญ่ก็ไม่ได้รับทราบข้อเท็จจริงการระบาดของ
โรคนี้ เนื่องจากเป็นเชื้อโรคประเภทแฝงตัว   ฆ่าเชื้อด้วยความร้อนไม่ได้ ทำให้การดื่มนมสดมีความเสี่ยงที่
มากพอควร รวมทั้งสารเคลือบกล่อง UHT ชั้นในสุดเป็น พลาสติกโพลีด้วย ทางออกที่ดีกว่าคือการรับประทานผลิตภัณท์นมที่ผ่านการย่อยด้วย
จุลลินทรีย์แล้ว เช่นนมเปรี้ยว และโยเกิร์ตที่หวานน้อยกว่า อัตราความเสี่ยงจะลดลงมา เนื่องจากน่าจะมีการตรวจวัดหลายครั้ง นอกเสียจากว่าจะ
เจอกับวัวที่กินอาหารจากแหล่งสารเคมีเข้าไปเต็มๆ  ดังนั้นการรับประทานเนื้อวัวที่นำเข้าจากลาวน่าจะมีความเสี่ยงน้อยกว่า  ปัจจุบันมีนมผงที่
ตัดโมเลกุลด้วยจุลลินทรีย์วางขายทั่วไปแล้ว  แหล่งนมผงส่วนใหญ่ประเทศไทยมักนำเข้าจากยุโรป แต่การ
ผลิตนมผงในประเทศเริ่มมีแล้ว แต่ยังมีกำลังการผลิตไม่สูงนัก ขอให้ใช้วิจารณญาณในการเลือกบริโภค ควรเลือกซื้อนมผงในห้างโมเดิร์น
เนื่องจากเป็นแหล่งเดียวที่มีระบบจัดเก็บรับคืนสินค้า โดยไม่เสียดายกำไร และมีอำนาจต่อรองกับบริษัทนมผง
เนื่องจากเด็กทารกไม่สามารถพูดบอกกับเราได้ว่านมที่รับประทานมีอันตรายต่อความเสี่ยงติดเชื้อในสมองหรือไม่ การซื้อนมผงจึงควรซื้อแบบ
ออกใบกำกับภาษี และควรเก็บกล่อง กระป๋องนมผงไว้ จนกว่าเด็กจะโตจนพูดได้ และมีพัฒนาการที่สมวัย
เนื่องจากที่กระป๋องและกล่องจะระบุได้ว่าเป็นสินค้าล็อตไหน ผลิตจากประเทศอะไร   เชื้อแอนแทรกซ์ระบาดอยู่ประปรายในประเทศคาดว่า
กระจายมาจากบริเวณที่เคยตั้งฐานทัพทัพสหรัฐทั้ง 12 แห่ง ในประเทศไทย และอาจกระจายไปกับ เนื้อ นม
หนังวัว ข้าว และเกลือ บริเวณที่คาดว่า เชื้อยังกระจายไปไม่ถึงได้แก่ ลุ่มน้ำเสียว อ.บรบือ ที่มีการผลิตข้าวและเกลือได้เอง ลุ่มแม่น้ำเสียวนี้จึง
เหมาะแก่การเลี้ยงวัว และปลูกข้าว อินทรีย์ชีวภาพมากที่สุด  แต่ถ้ามีการขุดแร่โปแตสที่อุดรเกิดขึ้น ด้วย
ระบบการค้าปุ๋ย จะทำให้ไม่มีพื้นที่ปลอดภัยทางชีวภาพเหลืออยู่ในประเทศไทยเลย  อาหารและเครื่องดื่มต้องผ่านการฆ่าเชื้อด้วยรังสีเท่านั้น  ปุ๋ยเคมีไม่ควรราคาถูกเกินไป
และ สปอร์ของเชื้อต่างๆนี้อาจเป็นสาเหตุนึงที่ แพทย์ นิยม สั่งจ่ายยาฆ่าเชื้อให้กับประชาชน ทั้งๆที่เป็น
พื้นที่การระบาดของหวัด ที่เป็นเชื้อไวรัส นอกจากนี้โรคปอดส่วนใหญ่ยังเกิดจากเชื้อพลาสม่าซึ่งเป็นไฟลั่มกึ่งเชื้อไวรัส  แต่เนื่องจากเสื้อกันหนาวเก่าที่มาในรูปการบริจาคในเขมร ถูกนำไปขาย ทั่วประเทศ อาจจะไม่เหลือพื้นที่ปลอดภัยทางชีวภาพแล้วก็ได้  ควรบังคับให้ซักด้วยน้ำยา ประจุซิลเวอร์นาโน และความร้อน  ควรออกมาตรการลดภาษีให้เครื่องซักผ้า ประเภทฆ่าเชื้อ ถ้าพิสูจน์ได้ว่ามีคุณภาพที่ดีพอ ท่านควรโทรสอบถามคอลเซ็นเตอร์ถึงแหล่งวัตถุดิบที่แท้จริง ของแต่ละส่วนผสม ไม่ใช่พื้นที่สวมสิทธิ์ภาษี ถึงช่วงเวลาการระบาดห่างเกินสิบปีหรือไม่ และควรสอบถามเรื่องวัตถุผสม GMO แต่ เนื่องจาก ในบางประเทศ แอนแทร็กซ์ไม่ระบาดมาระยะนึง อาจเกี่ยวข้องกับ การใช้สารเคมี  น้ำประปา และอาจเกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ในพื้นที  เนื่องจากได้ยินว่ามี การ GMO ใบยาสูบ ทำวัคซีนแอนแทร็คซ์  sasirin@dmr.go.th   
pracha@dmr.go.th    wallop@dmr.go.th      nuch@dmr.go.th  pkhuenkong@yahoo.com    
Namrin97@hotmail.com    Loveme_love9@hotmail.com   plan@dpim.go.th     nawanuch.t@pcd.go.th   napawas.b@pcd.go.th  
people@thaipbs.or.th   saree@consumerthai.org  customer@nationgroup.com   3mitinews@gmail.com   sirirak@nationgroup.com  
noppawan@nationgroup.com   kodchakorn@nationgroup.com  amnart@nationgroup.com  regional@nationgroup.com    แจ้งไปยัง
webmaster@pcd.go.th  ด้วยว่าไซ้ท์ของเขาอาจจะติดไวรัสแล้ว      กรมควบคุมโรค  http://www.ddc.moph.go.th     
http://www.dmr.go.th/      http://www.dpim.go.th/      http://www.thaingo.org/story3/potas.htm
เครื่องดื่มในขวดแก้วในท้องตลาดส่วนใหญ่ มักมีสารแต่งเติมไม่ว่าตัวใดหรือตัวนึงเสมอ เครื่องดื่มที่เพียวๆอินทรีย์ไม่มีนัยซ่อนเร้นมีจำนวน
น้อยมากในท้องตลาด  http://multicolorzone.blogspot.com/
หลังไทยเบฟซื้อกิจการเสริมสุข ซึ่งมีน้ำส้มทวิสเตอร์เป็นบริษัทลูกด้วย เป็นโอกาสนึงของคนไทย ที่อาจจะมีชาเขียวออแกนิกส์ในขวดแก้วออก
มาขาย เดิมที โออิชิเคยทำชาเขียวในขวด HOT PET มาแล้ว ซึ่งต้นทุนการใช้ขวดชนิดนี้ก็ค่อนข้างสูง
ถ้าขวดแก้วทวิสเตอร์ปรับปรุงระบบการผลิต ให้ เป่าเย็นด้วยลม เพื่อเวลาแตกเป็นเกล็ดก็จะดี
ในรังนกนางแอ่นมีโปรตีนชนิดนึงที่จับกับเชื้อหวัดได้  รังนกหลังปี 2003 น่าจะมีภูมิต้านทานนกเพิ่มขึ้น  แต่ปีนี้มีนกตายที่ชายทะเลฮ่องกงแล้ว
ทางการฮ่องกงกำลังกวาดล้างไก่อยู่  ให้ระมัดระวังรังนกที่ออกในฤดูกาลหน้า  ปรกตินกอพยพจากขั้ว
โลกเหนือ มีการไปถึง อินโดนีเซียจำนวนไม่มากนัก  แต่   อินโดนีเซียกลับมีคนร้องจิ๊บๆเสียชีวิตเพราะหวัดนกเป็นจำนวนมาก ทั้งๆที่เป้นแหล่ง
เพาะปลูกโป๊ยกั๊กขนาดใหญ่ของโลกที่นำมาสกัดยาบริ๊กเชื้อหวัด
รังนกปลอมวุ้นสีขาวทำจากยางไม้ชนิดนึง
ช่วงเดียวกันนี้ทางการสหรัฐ ด้านชีวความปลอดภัย ได้ขอให้หยุดการเปิดเผย ผลวิจัยของห้องทดลองที่พบว่า เชื้อหวัดนกสามารถสร้างขึ้นได้
จากห้องทดลอง ที่ทำโดยใช้เงินภาษีของสหรัฐ รวมทั้งผลของห้องทดลองเนเธอร์แลนด์ในยุโรปด้วย
ห้องนอนที่มีฝ้าเพดานไม่ควรใช้พัดลมเพดาน การสะสมจะเขย่าฝุ่นลงมาจากร่องฝ้าเพดาน เฟอร์นิเจอร์บิ้วอินจะมีผลต่อสุขภาพเมื่อเกิดการ
สะสมฝุ่นหรือความชื้น แต่จะปลอดภัยกว่าถ้าเกิดแผ่นดินไหว ทางออกคือเลือกเฟอร์นิเจอร์ที่มีฐานกว้างๆล้ม
ยากๆ
ความเสี่ยงต่อการเกิดสงครามโลกในปีแจ็คพ็อต 2555 ควรเลือกซื้อรถประกันจากประเทศลาตินอเมริกา เช่น บราซิล ที่สามารถผลักดันนโยบาย
พลังงานได้ถึง E100 โดยไม่ได้กังวลจากนโยบายขาใหญ่พลังงาน ถ้ามีรถไฮบริดขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าด้วย
จะดีมาก รองลงไปได้แก่รถจากยุโรป  อินเดีย  อินโดนีเซีย ความเสี่ยง จาก CME ในปี 2012 ควรเลือกซื้ออุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีประกัน 3ปี หรือหา
ปลั๊กป้องกันไฟเซิร์จแรงดันเกินมาใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่สำคัญ  ยังดีที่รถส่วนใหญ่ผลิตในประเทศ
ถ้าท่านต้องการลดความเสี่ยงของสงครามโลกลงสักครึ่งนึง ให้เข้าไปที่เว็บไซด์ บารักโอบาม่าดอทคอม บริจาคช่วยให้เขาไปหาเสียง สักคนละ 5 
 10 เหรียญ แล้ว อีเมลล์ตอบกลับ ไปแจ้งเขาว่าท่าน ยินดีสนับสนุน มูลนิธิที่อยู่อาศัยเพื่อมวลมนุษยชาติ
ที่มี จิมมี่ คาร์เตอร์ อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เป็นสมาชิก ทดแทนการยึดครองเอเชีย เพื่อโครงการ 7sector                             
 ส่งอีเมลล์เป็นหัวข้อคำว่า   I am willing to support Habitat for humanity With Jimmy Carter, former President of the United States . 
Replacement of the occupation of Asia to the 7sector. ไปยัง  Barack Obama         info@barackobama.com   
president@ whitehouse.gov        cc    habitat@habitatthailand.org    http://www.barackobama.com/                     http://www.habitatthailand.org 
 อีกเว็บไซ้ท์นึงคือเว็บไซท์ ไวท์เฮาส์.gov    Hi de U iP            http://www.whitehouse.gov       
สเก็ตด้วลการเปลี่ยนผู้นำเกาหลีเหนือน่าจะเป็นการคอนโทรลองค์กรเกาหลีเหนือจากจีน เพื่อให้อยู่ในสถานะที่พลิกไปได้หลายๆด้าน ถ้าจวน
ตัว จีน อาจจุดสงครามเกาหลีขึ้น ให้สหรัฐได้ขายอาวุธ  แต่จากการที่เกาหลีเซ็น FTA กับสหรัฐแล้ว
พร้อมกับการเข็นทีวี ช่อง  รวมชาติ ขึ้น พร้อมๆกับการที่ญี่ปุ่น ตกลงซื้อ ฝูงบิน F35 น่าจะผ่อนคลายไปได้ระดับนึง  แต่เนื่องจากคนเกาหลีถูก
ปลูกฝังหัวว่าคนเชื้อสายเดียวกันเป็นศัตรูกันมานานก็ยังไม่รู้ว่าจะรวมกันได้ขนาดไหน  ถ้าคนเกาหลีรวมชาติชักช้า ได้ไปดูหนังเรื่อง เท็กซัสคิลลิ่งฟิลล์ 3D แน่  โดยเฉพาะฝ่ายเหนือ
เพื่อสร้างปรากฎการณ์ บุญคุณของเทพเทวะมาโปรด จึงมีการกดระบอบฐานของปิรามิดไว้ต่ำมากๆจนประชาชนเดือดร้อนทุกข์ยากแสนเข็ญ
ไม่มีโอกาศลืมตาอ้าปาก จนมีคนอดตายจำนวนมาก ผู้ที่คิดต่อต้านระบบถูกตรวจสอบจนมีอันเป็นไปต่างๆ
นาๆ หรือเสียชีวิตโดยไม่เคยได้รับความเป็นธรรม  สถานะผู้นำใหม่ที่เคยเรียนในสวิส ประเทศที่เป็นกลางในยุโรป จึงน่าสนใจมาก พอๆกับ
การที่เขาเคยไปเที่ยวดีสนี่ย์แลนด์ในญี่ปุ่นพร้อมกับพี่ชาย
และถ้าไท จวนตัวจริงๆ แผนชั้นเลว อาจจุดประทุชายแดนกัมพูชาขึ้น พร้อมๆกับชายแดน  พม่า ที่เตรียมการวางกับระเบิดเพิ่มขึ้นเป็นอันมาก
ในปีนี้ เพื่อไม่ให้ สหรัฐ และจีน สอดมือเข้ามา  แต่ถ้าอองซานได้ขึ้น ภาพ ผู้นำหญิงทะเลาะกัน น่าจะทำ
ให้นายพลจีนไม่กล้าเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายนึงด้วย
สหรัฐเปิดเผยแล้วว่าต้องการนำเรือบรรทุกเครื่องบินมาประจำการที่สิงคโปร์ และต้องการส่งฝูงบินโพไซดอน มาอาบเรือดำน้ำในน่านน้ำไทย
และฟิลิปปินส์  แต่เนื่องด้วยข้อตกลงทางการบินเข้าน่านฟ้าไทยที่ทำใหม่แล้วกับสิงคโปร์ สมัย พตท
.ทักษิณ ที่ได้เสรีภาพทางน่านฟ้ากลับคืนมา ถ้าจะเข้ามาต้องได้รับอนุญาตก่อน
ความเสี่ยงของฤดูกาลเคลม เริ่มตั้งแต่ วันที่ 21 ธค. ช่วงดวงอาทิตย์ทำมุมกับโลก คริสมาส ปีใหม่  วันเด็ก วันตรุษจีน วันเที่ยว วันเช็งเม้ง ฤดูร้อน  สงกรานต์ ไม่ควรทำ OT ถ้าท่านเห็นกลุ่มทุนใหญ่ๆพากันออกจากกรุงเทพ แล้วรู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัว ให้ลาไปหาหมอตามคลีนิคเล็กๆที่ไม่อยู่ในตึก  แต่ถ้าระบบคอมพิวเตอร์เกิดปัญหา พนักงานกลุ่มเข้ากะจะมีโอกาสได้หยุดด้วย
วันเช็งเม้ง  รังสีฮวงจุ้ยของสุสาน ปีมังกร จะแผ่จากชลบุรี และราชบุรี มาซ้อนกันในกรุงเทพ
ย่าน ราชประสงค์ มีโรงแรม ชื่อ อโนมา อยู่ตรงข้ามเวิลด์เทรด  และเคยมีโรงแรมในบริเวณใกล้ๆนั้นนั้นเกิดเพลิงไหม้ 
การที่แกนโลกเคลื่อนไปประมาณ สิบกว่าเซ็นต์ จากแผ่นดินไหวอินโดนีเซีย และชิลี โลกที่หมุนเร็วขึ้นอาจส่งผลให้เกิดการรีดตัวของเปลือก
โลกที่รุนแรงขึ้นด้วย
และจากการที่เปลือกโลกทางอีสานเป็น ฮอทลาวา ในขณะที่แผ่นภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ เป็นโคลด์ลาวา แต่กลับมีน้ำพุร้อนอยู่ไปทั่วแผ่น
โคลด์ลาวา จากข้อมูลนี้ หมายถึงแรงเค้นของรอยต่อในแถบรอยเลื่อนนครนายก ที่อยู่ใกล้โคราชที่เคยมี
แผ่นดินไหวที่ปากช่อง  เมื่อ 25  7  2535 และอาจจะเป็นได้จากรอยเลื่อนในบริเวณดังกล่าวมีรอยปริจึงมีน้ำพุร้อน แต่การเป็นโคลด์ลาวาอาจ
หมายถึงการการมีเปลือกที่หนากว่า หรือเปลือกบางมากแต่มีเพลทแข็งที่หลอมเหลวยากขนาดใหญ่มากๆจม
ขวางกระแสการหมุนของลาวาตามแนวการหมุนของโลกอยู่ในแนวของพม่า ที่อยู่ใกล้เทือกเขาหิมาลัย ที่ดันแผ่นเพลทจนสูงเป็นยอดเขาเอ
ฟเวอร์เรส ซึ่งอาจเป็นพื้นที่ๆจะมีความพยายามต่อเพลทในระดับสูง จากการที่มีหลายองค์กรมาฝังตัวที่แม่สอด
และเคยมีแผ่นดินไหวห่างชายแดนลึกเข้าไปในพม่าไม่กี่กิโลเมตรและอาจหมายถึงแรงดีดที่สะสมมานานกว่า 7แสนปี จากร่องรอยการประทุ
ของภูเขาไฟที่ดับแล้วในบริเวณประเทศไทย พร้อมๆกับการที่แผ่นดินอีสานเคยเป็นท้องทะเลแต่ยกลอยตัว
ขึ้นเหนือระดับน้ำทะเลแล้วเป็นร้อยเมตร  เมื่อเพลทอินโดขยับ อีกปลายขอบในไทยก็เกิดบีบลดลง แต่ รอยแยกจะมีโอกาสเคลื่อนตัวมากขึ้น มีรายงานเรื่องน้ำร้อนโผล่ขึ้นอีกหลายจุด และจะมีการเปิดให้ขุดเจาะสำรวจแหล่งพลังงาน
รายงานที่ดูแลโดย ฟิลิปส์ เอ การ์เบอร์ อดีตนักวิเคราะห์ สงครามเย็น ของเพนตากอน ระบุว่า แผ่นดินไหวที่จีน ก่อน วันที่ 8 เดือน 8 ปี 2008 อยู่
88 วันนั้น หลุมยิงหัวรบนิวเคลียร์ใต้ดินในมณฑล เสฉวน เกิดการ ถล่ม ยุบตัวไปด้วย และ พบการรั่ว
ไหลของรังสี  คาดว่า ไต้หวัน ไม่น่าจะกล้าใช้ องค์กรในประเทศ เคลื่อนไหวโดยตรง เพื่อลดความเสี่ยงของสงคราม  หลังจากนั้น จีน ได้กวาด
ล้าง อาชยากรรมครั้งใหญ่ กว่า 3000 แก็งค์ในประเทศ
หลักฐานภัยพิบัติที่ชัดเจนคือแผ่นดินไหวที่ อ. พาน เชียงราย   เมื่อ 11  9.  2537           เขตอิทธิพล ของ กองพล 93  ที่สหรัฐ เคยมาทำการ อพยพ
ไป ไต้หวัน นับ หมื่นคน ในช่วงปี  2496-2497   ที่พลเอกเกรียงศักดิ์ได้เข้าไปมีบทบาท ก่อนที่จะมาลง
เลือกตั้งที่ 101    ซึ่งช่วงปี 2498 เป็นช่วงที่มีข่าวลือ ฝุ่นละอองกัมมันตรังสีแพร่มาถึงไทย มีคนท้องนอกมดลูกเป็นจำนวนมาก เด็กแคระแกร็น
พร้อมๆกับการระบาดของอาการไอเรื้อรัง ซึ่งอาจเกิดจากการทดลองใน สหรัฐ และ สหภาพโซเวียตในปี
2496 แล้วแพร่ในชั้นบรรยากาศชั้นสูงไปทั่วโลก แต่เป็นที่สังเกตุว่า จุดทดลองอยู่ห่างไกลจากประเทศไทยมาก ผลกระทบไม่น่าจะมากขนาดนั้น
 แต่ในช่วงนั้นมีการสู้รบในบริเวณใกล้ประเทศไทย อยู่ 2 จุดคือ เวียตนามปลดแอกฝรั่งเศส และ ฝ่าย
คอมมิวนิต์จีน รุกไล่ กองพล 93 อยู่ตอนเหนือประเทศไทย 
สหรัฐมีการผลิตอาวุธนิวเคลียร์ขนาดเล็กมากขนาดเท่าแตงโมสีแดงที่ยิงด้วยปืนใหญ่ได้
กรุงเทพไม่ได้ไหวมานานกว่า 120 ปี  แผ่นดินไหวใหญ่ๆที่อินโดนีเซียเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 70 ปี
ไม่มีอาคารที่ผ่าน พรบ อาคารรองรับแผ่นดินไหว ปี50เลย แม้แต่อาคารที่สร้างใหม่ส่วนใหญ่ก็ใช้ใบอนุญาตเดิมที่เคยขอไว้  เคยมีบริษัทนึงที่
ประกาศว่าจะออกแบบสร้างบ้านทนแผ่นดินไหว แต่ก็เงียบหายไป อาจจะเกิดจากแรงกดดันจากกลุ่มใหญ่
ทำให้แบ็งค์ไม่ปล่อยเงิน  ถ้าไหวยวบเดียว เคลมประกันล้านๆแน่
ล่าสุด ปีนี้ ไหวแล้วที่ลำปาง 4 ครั้งติดต่อกัน  โปรดระวังมุขเขื่อนแตกไล่คนออกจากกรุงเทพ ยังไม่มีรีอินชัวรัสน์ประเทศไหนตอบรับประกัน
น้ำท่วมไทยเลย มีแต่การคุยกันเฉยๆ
รอยเลื่อนแถวเขื่อนมีสถิติการไหวอยู่ที่ รอบ 40 ปี และจะครบรอบ ในปี 2555
ที่หนีเที่ยวในภาคอีสาน หาข้อมูลได้จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ถ้าท่านยังไม่รู้ว่าจะตั้งต้นความปลอดภัยหาที่ดินในอีสานไว้รองรับอนาคตยังไงก็ติดต่อมาได้ทางอีเมลล์ 
ท่านที่ยังคิดจะปักหลักทู่ซี้อยู่ในกรุงเทพต่อไป แนะนำให้ท่าน บริจาคให้มูลนิธิ เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ แล้วโทรไปแจ้งขอให้ทำแอพพลิเคชั่น
เตือนภัย 3 G  Voice Priority App  Alam       http://www.paipibut.org
เมลล์ไปที่ สบท. ของ กสทช. ขอให้ การบริจาคระบบให้มูลนิธิของค่ายสื่อสารสามารถนำไปหัก USO ได้ และขอให้เร่งผลักดันสนับสนุนให้
ขยายเครือข่าย ไฟเบอร์ 300 M และ 4G ตลอด ทุกรอยเลื่อน และชายทะเลทุกด้าน
เมลล์ CCไปที่ ทรูมูฟ  ทรู คอร์ป ให้ขยายเครือข่ายดังที่กล่าวมา    email                         1200@nbtc.go.th         service@tci.or.th        
tci.service@hotmail.com    tv360@thaitv3.com   people@thaipbs.or.th   saree@consumerthai.org 
customer@nationgroup.com   sirirak@nationgroup.com   noppawan@nationgroup.com   kodchakorn@nationgroup.com 
amnart@nationgroup.com  regional@nationgroup.com        http://twitter.com/teleconsumer     www.tci.or.th
cc      intelligence@truecorp.co.th    sisadhi_reu@truecorp.co.th   anchalika_kau@truecorp.co.th     thadhamon_cha@truecorp.co.th  support@truecorp.co.th    porntiva_kor@truecorp.co.th     natthaphat_sar@truecorp.co.th     specialtechteam@gmail.com     truenettalk@truecorp.co.th                 
www.truemove.com   www.truecorp.co.th
ซื้อ มือถือ 3G 4G  และเลือกเครื่องที่ใช้ซิมทรูมูฟได้  ท่านอย่าเพิ่งไปหวังการแจ้งเตือนภัยจะเกิดจากบริษัทต่างชาติ ที่เขาซื้อกิจการเพราะการ
สนับสนุนทางยุทธศาสตร์ดักพอร์ทข้อมูล เบอร์โทร ghost protocal ปฏิบัติการสนับสนุนระดับ ซีโร่เบส เนื่องจากความเสี่ยงรัฐประหาร
ความเสี่ยงต่อสงครามนิวเคลียร์จะพุ่งขึ้นสูงในปีแจ็คพ็อต  จากเกาหลีเหนือ จีน และแนวต้านโล่ขีปนาวุธในยุโรปที่อ้างภัยคุกคามจากอิหร่าน    
เมลล์ไปที่  อย. และ กรมอนามัย ขอให้ยกเลิกการจำกัดเพดานการเติมไอโอดีนในเกลือ ซึ่งเป็นช่องทาง
นึงที่จะกระจายไอโอดีนให้เข้าถึงประชาชนได้เร็วที่สุดและไม่เกิดสภาวะ ยาเม็ดไอโอดีนขาดตลาดจนต้องประมูลกันเป็นหมื่นเหมือนญี่ปุ่น
ที่แย่ก็คือ อย.ได้ออกกฎจำกัดเพดานไอโอดีนในเกลือไว้ที่ 40 ppm ในขณะที่มาตรฐานโลก อยู่ที่ 50-55 ppm
การยกเลิกการจำกัดเพดานในเกลือที่เหมาะสมได้แก่ การใช้สีผสมอาหารจากธรรมชาติย้อมสีเกลือ ระบุขนาดความเข้มข้น ความเค็มของเกลือจะ
เป็นข้อจำกัดการรับประทานอยู่แล้ว
เช่น สีแดง 1000 ส้ม750  เหลือง 500  น้ำเงิน 250  เขียว 150 และควบคุมความหนาของถุงพลาสติกเพื่อไม่ให้เด็กแกะได้ง่ายตามความเข้มข้น   และเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมเกลือในประเทศ
เกลือต้มธรรมชาติสีม่วงดอกอัญชัญไอโอดีน100 ปลอดสารอื่น สำหรับผู้ที่เป็นโรคไต เบาหวาน หัวใจ และความดัน กว่า 10 ล้านคนในประเทศ หรือสนับสนุนการผลิตโซเดี้ยมคลอไรด์ หรือ กรอง เหล็ก หินปูน ธาตโลหะหนัก
ใช้หัวข้อเมลล์ว่า                            ขอให้ยกเลิกการจำกัดเพดานการเติมไอโอดีนในเกลือ 
และใช้ข้อความว่า    
 ความเสี่ยงต่อสงครามนิวเคลียร์จะพุ่งขึ้นสูงในปีแจ็คพ็อต  จากเกาหลีเหนือ จีน และแนวต้านโล่ขีปนาวุธในยุโรปที่อ้างภัยคุกคามจากอิหร่าน
ช่องทางนึงที่จะกระจายไอโอดีนให้เข้าถึงประชาชนได้เร็วที่สุดและไม่เกิดสภาวะ ยาเม็ดไอโอดีนขาดตลาดจนต้องประมูลกันเป็นหมื่น
เหมือนญี่ปุ่น
การใช้สีผสมอาหารจากธรรมชาติย้อมสีเกลือ ระบุขนาดความเข้มข้น ความเค็มของเกลือจะเป็นข้อจำกัดการรับประทานอยู่แล้ว
เช่น สีแดง 1000 ส้ม750  เหลือง 500  น้ำเงิน 250  เขียว 150  เกลือต้มธรรมชาติสีม่วงดอกอัญชัญไอโอดีน100 ปลอดสารอื่น สำหรับผู้ที่เป็นโรค
ไต หัวใจ  เบาหวาน และความดัน กว่า 10 ล้านคนในประเทศ  และควบคุมความหนาของถุงพลาสติก
เพื่อไม่ให้ เด็กแกะได้ง่ายตามความเข้มข้น   และเป็นการส่งเสริมอุตสาหกรรมเกลือใน
ประเทศ  นอกจากนี้ไอโอดีนยังมีการนำไปใช้เป็นสารฆ่าเชื้อชนิดนึงที่มีความปลอดภัยสูง ต่อการบริโภค ถ้า
มีการใช้อย่างระมัดระวัง   โดยอาจ ผสมโซเดี้ยมไอโอไดท์ ครึ่งต่อครึ่ง กับโปตัสเซี่ยมไอโอเดท เพื่อให้สลายตัวเร็ว และมีการคงค่าไอโอดีนสูง
ถ้ากระเทียมแค็บซูล หลินจือ ขมิ้นชัน ฟ้าทะลายโจร มะขามป้อม มะระขี้นก ชินนามอน ว่านหางจรเข้ ถั่วเหลืองNonGMO น้ำมะพร้าว งาดำ เครื่องสำอางบางชนิด ที่มีไฮยารูริค และ มะรุม เบิกค่ายาได้ น่าจะลดผลข้างเคียงจากยาให้คนได้หลายล้าน  อุตสาหกรรมยาใช้มะรุม
มานานแล้ว มีการสั่งซื้อหลายพันตันต่อปี แต่คาดว่าส่วนใหญ่เขาจะเลือกใช้เมล็ดด้วยข้ออ้างปริมาณตัวยา
และเหตุผลว่าในใบมีแป้ง  แต่การสกัดเมล็ดนั่นคือการสกัด น้ำมัน ซึ่งปริมาณไขมันจะส่งผลกระทบต่อเบาหวาน  ในใบมีแมกนีเซี่ยม วิตามินซี ที่ส่งผลต่อการใช้พลังงานเผาผลาญน้ำตาลร่วมกับโครเมี่ยมด้วย
แต่ถ้าคนเป็นเบาหวาน มีอาการบอกหมอว่าเลือดออกตามไรฟัน ด้วย หมอจึงจะจ่ายวิตามินซีปลอดน้ำตาลให้  เวลากินกาแฟให้ใส่อบเชย หรือชินนาม่อนด้วย จะลดน้ำตาลได้
 ยากลุ่มละลายเลือดเช่น
แอสไพริน น่าจะมีผลต่ออาการเท้าบวมที่ส่งผลต่อคนเป็นเบาหวานด้วย เนื่องจากเลือดไหลเวียนดีเกินไป และ
ต้องระวังไม่ให้ยุงกัด  ควรปลูกตะไคร้หอมไล่ยุง และยังนำมาต้มขับปัสสาวะได้ดีเช่นเดียวกับ หญ้าคา  ที่พระพุทธเจ้าใช้รองนั่งตรัส รู้

1556@fda.moph.go.th     food@fda.moph.go.th        fdanews@fda.moph.go.th           http://www.fda.moph.go.th/   people@thaipbs.or.th  
saree@consumerthai.org   amnart@nationgroup.com
cc    webmaster_ewt@anamai.moph.go.th                      http://www.anamai.moph.go.th/
รายการ TV 360 องศา ได้ลดการนำเสนอข่าวแผ่นดินไหวมาระยะนึงแล้ว ซึ่งเป็นช่องทางนึงที่จะทำให้ประชาชนตระหนักถึงภัยจากแผ่นดิน
ไหวที่นำเสนอบนกราฟฟิกลูกโลก 3 มิติ ซึ่งสร้างมิติความเข้าใจได้ชัดเจนต่อการเชื่อมโยงทางความคิด
ของการเกี่ยวเนื่องกันของรอยเลื่อนทั่วโลก  เข้าใจว่า ถูก "ขอร้อง" ไม่ให้นำเสนอ จากหน่วยงานใดหน่วยงานนึง โดยอ้างว่าไม่ควรทำให้
ประชาชนแตกตื่น
ตอนนี้ส่วนใหญ่นำเสนอแต่สภาพอากาศ  รายการทีวีต้องลดนำเสนอว่าโลกกลม
พวกเขาถนัดที่จะทำให้ประชาชนหลงลืมความเสี่ยงต่อภัยพิบัติในอินฟอร์เมชั่นวาร์ เพื่อให้เพื่อนพวกเขายังขายของได้


แผ่นดินไหวที่ อ.พานนี้ มิได้รุงแรงที่สุดจากที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทยซึ่งข้อมูลในอดีตพบว่าในปี ๒๕๒๖ ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาดความแรง
๕.๓ และ ๕.๙ ริคเตอร์ เมื่อ ๑๕ และ ๒๒ เมษายน ที่ จ.กาญจนบุรี มาแล้วโดยมีศูนย์กลางบริเวณอ่าง
เก็บน้ำเหนือเขื่อนศรีนครินทร์ ประมาณ ๕๕ กิโลเมตร ระดับความรุนแรงก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ผู้ที่อยู่อาศัยอยู่บริเวณภาคตะวันตก
ภาคกลาง และภาคเหนือของประเทศ รวมถงกรุงเทพมหานครซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ ๒oo กิโลเมตร
เกิดความเสียหายเล็กน้อยแก่อาคารในกรุงเทพมหานคร
แผ่นดินไหวที่มีอานุภาพรุนแรงถึงขั้นที่สามารถทำลายอาคารบ้านเรือนได้ เคยเกิดขึ้นในประเทศไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า ๔ครั้ง ในบรเวณภาค
เหนือและภาคตะวันตก แต่โชคดีที่แผ่นดินไหวเหล่านี้มีศุนย์กลางอยู่ไกลจากแหล่งชุมชน จึงไม่มีอาคาร
บ้านเรือนอยู่ในรัศมีการทำลายและการสูญเสียชีวิตของประชาชน ความไม่พร้อมในการเตรียมรับมือกับภัยพิบัติของเราที่สำคัญ คือ เรายังขาด
แคลนการสนับสนุนด้านงบประมาณและบุคลากร
หน่วยงานราชการมีปัญหาเรื่องข้อจำกัดในทางยุทธศาสตร์  ท่านอย่ารอความหวัง โดยที่ตัวเองไม่ได้ร่วมลงมือทำด้วย  ถ้าแย่แล้วจะแก้ไม่ทัน
การบริจาคให้มูลนิธิสามารถนำไปหักภาษีได้    http://www.paipibut.org


ก่อนการทิ้งนิวเคลียร์ที่ญีปุ่นในเดือนสิงหาคมด้วยเครื่องบิน
    26 ก.ค. 1945  เรือ ยูเอสเอส อินเดียนาโปลิส  แล่นออกจากเกาะเล็กๆแห่งหนึ่งนอกฝั่งกวม  โดยได้รับมอบหมายภารกิจให้บรรทุกลูกระเบิด
นิวเคลียร์ไปส่ง ณ ที่แห่งหนึ่ง  เพื่อจะนำไปถล่มเมืองฮิโรชิมา  30 ก.ค.  1945  หลังเที่ยงคืน ตอร์ปิโดของ
ญี่ปุ่นยิงถูกเรือหักกลางลำ   หัวเรือขาด  ภายใน 12  นาที  เรือก็จมลง   ลูกเรือกว่า 900 คน ลอยคออยู่กลางทะเล  ไม่มีใครให้ความช่วยเหลือ   มี
หลายคนโดนฉลามกิน


66    Strom Constantin   8
OMen
เด้กชายปลาบู่ ปีมะโลง

การปฏิบัติตนเองเพื่อป้องกันการได้รับเชื้อจากสงครามเชื้อโรค
(ฺBiological Warfare and Terrorism)

http://www.thaiclinic.com/education/biowar.html

คศ 1937ประเทศญี่ปุ่นได้เริ่มโครงการทดลองอาวุธชีวภาพในมนุษย์ที่ หน่วยปฏิบัติการ 731 (Unit 731) ตั้งอยู่ 40 ไมล์ไปทางตอนใต้ของเมืองฮาบิน (Harbin) ในแมนจูเรียของจีน โดยดำเนินการไปจนถึงปี คศ 1945 จึงถูกเผาทำลายไป
ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง มีหลักฐานพบว่าญี่ปุ่นได้ทำการทดลองอาวุธชีวภาพในนักโทษ สงครามชาวจีนประมาณ 1000 คน โดยนักโทษส่วนใหญ่ได้เสียชีวิตจากโรคแอนแทร็กซ์ ที่แพร่กระจายจากทางเดินหายใจ (Aerosolized Anthrax) มีการคาดประมาณกันว่า มีผู้เสียชีวิตจากการทดลองนี้ 3000 คน ในช่วงเวลาเดียวกันมีรายงานการโรยหมัดหนูที่ติดเชื้อ กาฬโรคโดยเครื่องบินรบของญี่ปุ่นเหนือน่านฟ้าของจีนและแมนจูเรีย

คศ 1945
โครงการอาวุธชีวภาพของญี่ปุ่น สามารถผลิตเชื้อแอนแทร็กซ์ (Anthrax) จำนวน 400 กิโลกรัม พร้อมที่จะบรรจุในลูกระเบิดชนิดแตกกระจาย

คศ 1943
สหรัฐอเมริกา ได้เริ่มจัดทำห้องปฏิบัติการและโครงการผลิตอาวุธชีวภาพเพื่อเป็นการ ต่อรองดุลอำนาจของเยอรมันและญี่ปุ่นในเวลานั้น โครงการนี้ไดัจัดตั้งที่แค็มป์ เดทริก (Camp Detrick) ปัจจุบันชื่อ ฟอร์ด เดทริก (Fort Detrick) ซึ่งในเวลานั้นเป็นฐานทัพอากาศขนาดเล็กและ มีการส่งผลผลิตไปยังจุดจัดเก็บต่างๆ จนกระทั่งปี คศ 1969 ประธานาธิบดี นิกสัน ได้สั่งยกเลิก โครงการอาวุธทางชีวภาพทั้งหมด

คศ 1970 และหลังจากนั้นมีการโรยสารมีสีจากเฮลิคอปเตอร์และเครื่องบินเหนือ น่านฟ้าลาวและกัมพูชา และพบว่าผู้ที่สัมผัสกับสารเหล่านั้นรวมทั้งสัตว์มีอาการเจ็บป่วยและตาย โดยมีความเห็นว่าสารที่ใช้เป็น Trichlothecene toxins ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งจาก T2 mycotoxin สารพิษที่สกัดจากพืชและเห็ดพิษ

คศ 1971- 1972 ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ออกคำสั่งให้มีการทำลายอาวุธทางชีวภาพทั้งหมด โดยในกำกับของกระทรวงเกษตร,กระทรวงสาธารณสุข, มลรัฐอาแคนซัส, มลรัฐโคโรลาโด และมลรัฐแมรีแลนด์ อาวุธทางชีวภาพที่ถูกทำลายประกอบด้วย Bacillus anthracis, Botulinum toxin, Francisella tularensis, Coxiella burnetii, Venezuelan equine encephalitis virus, Brucella suis and Staphylococcal enterotoxin B.
ประเทศสหรัฐอเมริกาเริ่มให้ความรู้ทางการแพทย์เกี่ยวกับอาวุธทางชีวภาพตั้งแต่ ปีคศ 1953 จนปัจจุบันโดยหน่วยงาน USAMRIID

คศ 1972สหรัฐอเมริกา, สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียต ได้จัดทำข้อตกลงเรื่องการห้ามสะสม, ห้ามการผลิต,และห้ามการเผยแพร่อาวุธชีวภาพ โดยมี 140 ประเทศทั่วโลกได้ลงสัตยาบรรณ ในเวลาต่อมา แต่กระนั้นก็ตามยังมีการแอบใช้อย่างจงใจในสงครามนอกรูปแบบต่างๆอีก เช่น กรณีฝนเหลือง (Yellow rain) ในสงครามเวียดนาม

คศ 1978มีการใช้สารไรซิน (Ricin) ในการฆาตกรรมเจ้าหน้าที่สถานีวิทยุชาวบัลกาเรียซึ่งลี้ภัย ในประเทศสหราชอาณาจักรโดยใช้ร่มที่มีลูกดอกอาบยาพิษแทงที่ต้นขา ผลจากการชัณสูตร หลักฐานจากร่มที่จับได้พบว่าเป็นสารพิษจำพวกไรซิน ซึ่งใช้ทำการโดยสายลับชาวบัลกาเรีย ที่ได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียตในขณะนั้น

คศ 1979มีการรั่วไหลของสปอร์ของเชื้อแอนแทร็กซ์ (Anthrax) ในเมือง Sverdlovsk ในสหภาพโซเวียตในขณะนั้น สถานที่เก็บอาวุธชีวภาพและห้องปฏิบัติการ ชื่อ Compound 19 ประชาชนที่อยู่ในละแวกใกล้เคียงมีอาการไข้สูง หายใจลำบากและเสียชีวิตในเวลาต่อมา รัฐบาลอ้างว่าสาเหตุของโรคมาจากการกินเนื้อวัวที่ติดเชื้อ แต่ทางสหรัฐอเมริกาได้ประเมิน สถานการณ์ว่ามาจากการรั่วไหลของอาวุธชีวภาพ

คศ 1992สหรัฐอเมริกาได้รับการยืนยันจากประธานาธิบดีบอริส เยอซิน ของประเทศรัสเซียว่า เหตุการณ์ที่เกิดชึ้นมาจากการรั่วไหลของอาวุธชีวภาพ

คศ 1994มีการตีพิมพ์ข้อสรุปของการรั่วไหลของเชื้อแอนแทร็กซ์ในประเทศรัสเซียในนิตยสาร Science ฉบับที่ 266 ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดผลทำให้มีผู้เสียชีวิต 66 คนจากผู้ป่วย 77 คนที่อยู่ในรัศมี 4 ไมล์ใต้แนวทิศทางลมจากห้องปฏิบัติการ


คศ 1991สหประชาชาติพบหลักฐานการผลิตอาวุธชีวภาพในประเทศอิรักโดยพบว่าอิรัก ได้ผลิตและจัดเก็บ ระเบิดสังหารที่มีสาร botulinum toxin จำนวน 100 ลูก ระเบิดสาร Anthrax จำนวน 50 ลูก ระเบิดที่มีสาร alfatoxin 16 ลูก มีจรวด SCUD จำนวน 13 ลูกที่มีสาร botulinum toxin 10ลูกที่มีเชื้อ Anthrax และ 2 ลูกมี alfatoxin ซึ่งทั้งหมดถูกทำลายในเดือนมกราคม 1991

คศ 1995สหประชาชาติได้พบว่าอิรักได้เตรียมการผลิตอาวุธชีวภาพประกอบด้วย Anthrax, botulinum toxins, Clostridium perfingens, alfatoxins, wheat cover smut และ Ricin. โดยมีการพบความพยายามในการทดลองในกระสุนปืนใหญ่ จรวดและถังสเปรย์
โดยรวมแล้วพบว่าอิรักมี สาร botulinum toxin จำนวน 19,000 ลิตร สาร Anthrax 8,500 ลิตร และสาร alfatoxin 2,200 ลิตร
ในสถานการณ์ปัจจุบันเชื่อว่าสารชีวภาพบางส่วนและนักวิทยาศาสตร์บางส่วนได้ผลิตอาวุธชีวภาพ ฝีดาษหรือ Smallpox ขึ้นมาได้โดยวิธีทางวิศวพันธุกรรมและถือว่าเป็นเชื้อโรคที่ร้ายแรง ตัวหนึ่งในประวัติศาสตร์

อะไรเป็นแรงจูงใจให้อิรักผลิต ในเมือซัดดัมอยู่ในคอนโทรลของ อเมริกา มาตลอด ครั้งที่บุกอิรัก
ในสงครามอ่าว  ปฏิบัติการพายุทะเลทราย  สหรัฐมีการใช้ อาวุธเคมีชีวภาพ ในอิรัก


เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เคยมีผลกระทบต่อประเทศไทย
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/             ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก         ความรุนแรง
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
624 ปี ก่อน ค.ศ. โยนก VI  MM     ยามรุ่งแจ้ง แผ่นดินไหว ฟ้าร้อง
วันพฤหัสฯ เดือน 10
623 ปี ก่อน ค.ศ. โยนก VI  MM แผ่นดินไหว ฟ้าร้อง ฝนตก
วันศุกร์ เดือน 8
594 ปี ก่อน ค.ศ. โยนก VI  MM ยามค่อนรุ่ง แผ่นดินไหว ฟ้าร้อง
วันจันทร์ เดือน 10
589 ปี ก่อน ค.ศ. โยนก VI MM ยามเช้า แผ่นดินไหว ฟ้าร้อง
ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8
พ.ศ. 1003 โยนก XII  MM แผ่นดินไหวสนั่นหวั่นไหว ครั้งหนึ่งก็หายไป
วันเสาร์ เดือน 7   ถึงสามหน ทำให้โยนกนครยุบจมลงเกิดเป็น
แรม 7 ค่ำ กลางคืน   หนองน้ำใหญ่
พ.ศ. 1077 โยนก VIII  MM ยามเช้า แผ่นดินไหว ยอดเจดีย์หัก 4 แห่ง
ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 7
พ.ศ. 1905 สุโขทัย VI  MM แผ่นดินไหว มีเสียงดัง
แรม 8 ค่ำ เดือน 12
พ.ศ. 1909 สุโขทัย V  MM แผ่นดินไหวทั่วทุกทิศ
แรม 8 ค่ำ เดือน 11
พ.ศ. 2025 เชียงใหม่ VI  MM แผ่นดินไหวตอนเช้า มีเสียงดัง
พ.ศ. 2048 อยุธยา VI  MM ภูมิอากาศ
พ.ศ. 2070 อยุธยา VI  MM แผ่นดินไหว


วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/             ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก         ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
พ.ศ. 2088 เชียงใหม่ VII  MM ยอดเจดีย์หลวงสูง 86 ม. หักพังลงมาเหลือ 60 ม.
พ.ศ. 2089 อยุธยา VI  MM แผ่นดินไหว
พ.ศ. 2127 อยุธยา VI  MM แผ่นดินไหว
แรม 9 ค่ำ เดือน 5
พ.ศ. 2131 อยุธยา VI  MM แผ่นดินไหว
แรม 8 ค่ำ เดือน 12
พ.ศ. 2228 อยุธยา V  MM แผ่นดินไหวเวลากลางคืน
พ.ศ. 2232 อยุธยา VI  MM แผ่นดินไหวเวลากลางคืน
พ.ศ. 2258 เชียงแสน VII  MM แผ่นดินไหว วัดและเจดีย์ 4 ตำบลถูกทำลาย
ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 7
พ.ศ. 2258 เชียงใหม่ VI  MM แผ่นดินไหวซ้ำ
แรม 4 ค่ำ เดือน 9
พ.ศ. 2311 กรุงเทพฯ VI  MM แผ่นดินไหว
แรม 4 ค่ำ เดือน อ้าย
พ.ศ. 2312 กรุงเทพฯ V  MM แผ่นดินไหวประมาณสองยามแต่น้อยกว่าครั้งก่อน
ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 5
พ.ศ. 2317 เชียงใหม่ V  MM แผ่นดินไหวสามยามเศษ
ขึ้น 12 ค่ำ เดือน ยี่
พ.ศ. 2342 กรุงเทพฯ V  MM แผ่นดินไหวค่อนรุ่ง
ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8



วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/             ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก         ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
พ.ศ. 2342 กรุงเทพฯ V  MM แผ่นดินไหวเวลาสองทุ่มเศษอีกครั้ง
ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 12
พ.ศ. 2375 กรุงเทพฯ V  MM แผ่นดินไหวเวลาทุ่มเศษ
ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 3
พ.ศ. 2376 กรุงเทพฯ V  MM แผ่นดินไหวเวลาสองยามเศษ
ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 12
พ.ศ. 2376 กรุงเทพฯ VI  MM แผ่นดินไหวเวลาสองทุ่มเศษ
ขึ้น 13 ค่ำ เดือน 1
พ.ศ. 2378 กรุงเทพฯ V  MM แผ่นดินไหวแม่น้ำกระฉอก ประมาณยามเศษ
ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 10
พ.ศ. 2382 กรุงเทพฯ VII  MM แผ่นดินไหวคนตกใจกว่าทุกครั้ง เวลาสามยามเศษ
ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 5   ผู้ที่อยู่ทั้งบนเรือนและแพรู้สึกแผ่นดินไหว คนตื่น
   ตกใจทั้งแผ่นดิน น้ำในแม่น้ำกระฉอก มีแผ่นดิน
   แยกที่พม่า ที่กรุงเทพฯ ไหวไปทั่วลำน้ำบางปะกง    ฝั่งตะวันตก ส่วนฝั่งตะวันออกไม่รู้สึก
พ.ศ. 2384 กรุงเทพฯ V  MM แผ่นดินไหว
ขึ้น 14 ค่ำ 9.00 น
พ.ศ. 2403 กรุงเทพฯ V  MM แผ่นดินไหว โคมแกว่ง
ขึ้น 17 ค่ำ เดือน 4 19.16 น.
พ.ศ. 2417 กรุงเทพฯ V  MM แผ่นดินไหว
ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3
พ.ศ. 2429 กรุงเทพฯ VI  MM แผ่นดินไหว หลังคาสั่น โคมและสิ่งของแกว่ง
ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 2 17.32 น.


วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/             ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก         ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
พ.ศ. 2429 กรุงเทพฯ VI  MM แผ่นดินไหวจนเรือโยก
ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 11.06 น.
พ.ศ. 2430 กรุงเทพฯ V  MM แผ่นดินไหว
ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 13.35 น.
23 พ.ค. 2455 พม่า 7.9 รู้สึกได้ที่กรุงเทพฯ ประมาณ 3-4 วินาที
09  24  06 น. 21.0  97.0
24 พ.ค. 2455 เชียงราย V  MM รู้สึกได้ที่เชียงรายในตอนเช้า
5 พ.ค. 2473 พม่า (Pegu) 7.3 รู้สึกได้ในภาคเหนือและภาคกลางของประเทศ
20  45  58 น. 17.3  96.5 IX  MM ไทย รวมถึงกรุงเทพฯ อยุธยา จันทบุรี พิษณุโลก
   ราชบุรี นครชัยศรี และปราจีนบุรี
4 ธ.ค. 2473 พม่า 7.3 รู้สึกได้ที่กรุงเทพฯ เวลาประมาณตี 2 ของ
01  51  51 น. 18.2  96.4  วันที่ 4 ธ.ค. ในจังหวัดภาคตะวันตกเฉียงเหนือ
   รู้สึกได้ 3 ครั้ง เมื่อเวลา 23.30 น. 24.00 น.
   และ 01.50 น. ครั้งแรกและครั้งที่สองนาน 1 นาที
   ครั้งที่สามนาน 3 นาที นอกจากนั้นยังรู้สึกได้ใน
   ภาคเหนือ ภาคกลาง รวมถึงปราจีนบุรี
16 พ.ค. 2476 สุมาตราตอนบน 6.5 รู้สึกได้ที่จังหวัดสุราษฎร์ฯ พังงา นานประมาณ
08  12  28 7.0  96.5   30 วินาที และเวลา 08.32 น. รู้สึกได้ที่
   จังหวัดตรัง
23 ก.ย. 2476 อ.แม่สอด จ.ตาก - เวลาประมาณตีสอง รู้สึกได้ที่ อ.แม่สอด จ.ตาก
   นานประมาณ 1 นาที
21 มี.ค. 2502 กาญจนบุรี - เวลาประมาณ 14.00 น. แผ่นดินไหวพายุฟ้าคะนอง
   มีเสียงดัง แผ่นดินแยกที่กาญจนบุรี


วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/             ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก         ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
22 ก.ย. 2508 พม่า 5.3 Mb รู้สึกได้ที่ อ.ฝาง ถึง จ.เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน
11  24  43.4 น. 20.75 N 99.26 E  เชียงราย ลำปาง และลำพูน
14 ก.พ. 2510 อันดามัน 5.6 Mb รู้สึกได้ถึงกรุงเทพฯ
08  36  04.7 น. 13.7 N 96.5 E
12 เม.ย. 2510 สุมาตราตอนบน 6.1 Mb รู้สึกได้ที่ จ.สตูล ภูเก็ต และสงขลา
11  51  41.8 น. 5.16 N 96.31 E
28 เม.ย. 2514 พม่า-จีน 5.6 Mb รู้สึกได้ที่ จ.เชียงใหม่
22  32  00.9 น. 22.98 N 101.02 E
17 ก.พ. 2518 พม่า-ไทย 5.6 Mb รู้สึกได้ทั้งภาคเหนือและภาคกลาง รวมถึง
10  38  19.8 น. 17.63 N  97.90 E  กรุงเทพฯ มีความเสียหายเล็กน้อย
13 ก.ย. 2518 พม่า 4.0 Mb รู้สึกได้ที่ จ.เชียงราย
06  07  44.3 น. 20.761 N  99.13E
29 ก.ย. 2518 พม่า 5.1 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ลำปางนาน 2 วินาที สายไฟฟ้า
20  42  47.1 น. 18.29 N  96.36 E  แกว่ง รู้สึกสั่นไหวที่อาคารกรุงเทพประกันภัย ชั้น 7
26 พ.ค. 2521 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 4.8 Mb เสียหายเล็กน้อยที่ อ.พร้าว รู้สึกสั่นไหวนาน
06  22  29.1 น.       19.27 N  99.06 E  15 วินาที ที่ จ.เชียงราย เชียงใหม่ และลำปาง
27 พ.ค. 2521 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 3.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว 3 ครั้ง เมื่อเวลา
14  05  21.8 น. 19.51 N 99.63 E  14.05, 14.16 และ 15.03 น.
30 พ.ค. 2521 อ..พร้าว จ.เชียงใหม่ 3.4 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว
05  26  23.0 น. 19.24 N 99.07 E
26 พ.ค. 2521 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 4.8 Mb เสียหายเล็กน้อยที่ อ.พร้าว รู้สึกสั่นไหวนาน
06  22  29.1 น.                   19.27 N 99.06 E  15 วินาที ที่ จ.เชียงราย เชียงใหม่ และลำปาง


             วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
27 พ.ค. 2521 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 3.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว 3 ครั้ง เมื่อเวลา
14  05  21.8 น. 19.51 N  99.63 E  14.05, 14.16 และ 15.03 น.
30 พ.ค. 2521 อ..พร้าว จ.เชียงใหม่ 3.4 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว
05  26  23.0 น. 19.24 N 99.07 E
18 มิ.ย.2521 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 1.6 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว
23  44  26.0 น. 19.20 N  99.20 E
30 พ.ค. 2521 อ..พร้าว จ.เชียงใหม่ 3.4 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว
05  26  23.0 น. 19.24 N 99.07 E
18 มิ.ย.2521 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 1.6 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว
23  44  26.0 น. 19.20 N  99.20 E
21 มิ.ย. 2521 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 3.1 3.2  Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.พร้าว 2 ครั้ง เมื่อเวลา
04  05  31.4 น. 19.38 N 99.21E  03.45 และ 04.05 น.
24 มิ.ย. 2521 พม่า 3.7 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมืองแสน และ อ.แม่สาย
02  59  02.2 น. 20.98 N 99.53 E  จ.เชียงราย นานประมาณ 3-5 วินาที
29 มิ.ย. 2521 พม่า 3.9 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เชียงแสน อ.แม่สาย
00  42  27.0 น. 21.00 N  99.60 E  จ.เชียงราย
24 ก.ค. 2521 ตาก 4.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.สามเงา อ.อุ้มผาง และ
04  34  37.1 น. 17.19 N 99.30 E  อ.แม่สอด จ.ตาก
2 ส.ค. 2521  ลาว 5.1 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เชียงของ จ.เชียงราย
14  45  52.0 น. 20.50 N 100.70E
1 ก.ย. 2521  ลาว  4.9 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย นาน 2-3 วินาที
11  55  16.8 น. 20.44N 100.62 E


วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
22 ม.ค. 2522 ลาว 4.5 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย
14  34  58.8 น. 20.34 N100.74E
26 ก.พ. 2522 พม่า-ไทย 4.2 Ml แผ่นดินไหว
01  53  50.5 น. 18.00 N 97.50 E
18 มี.ค. 2522 ไทย-ลาว 4.5 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย
13  41  0.0 น. 20.90 N 102.00E
10 ก.พ. 2523 เชียงใหม่ 4.2 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ นาน 5 วินาที
09 17  52 น. 19.35N 99.23 E
10 ก.ย. 2523 เชียงใหม่  3.6 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ นาน 2-3 วินาที
09  21  00.5 น. 18.87N 99.25E
22 ธ.ค. 2523 แพร่ 4.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ จ.แพร่
14  55  50.7 น. 18.03 N0100.09E
23 ธ.ค. 2523 แพร่ 3.7 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.แพร่
07  55  46.4 น. 18.12N 99.92 E
20 มิ.ย. 2525 เชียงใหม่ 4.3 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน
20  20  40.1 น. 18.92 N 99.18 E  และลำปาง มีเสียงดังคล้ายฟ้าร้อง
4 เม.ย. 2526 สุมาตราตอนบน 6.6 Mb รู้สึกสั่นไหวบนชั้น 22 ของตึกโชคชัย
09  51  34.3 น. 5.723 N 94.72E
15 เม.ย. 2526 กาญจนบุรี 5.5 Mb รู้สึกแผ่นดินไหวชัดเจนใน กทม.
16  23  58.8 น. 14.91 N 99.10 E
22 เม.ย. 2526  กาญจนบุรี 5.9 Mb 5.2 Mb รู้สึกแผ่นดินไหวตลอดภาคกลาง และภาคเหนือ
07  37  37.0 น. 14.93 N 99.00E  หลายคนตื่นตระหนก เสียหายเล็กน้อยแก่อาคาร
10  21  40.5 น. 14.93N  99.07E  ใน กทม.  รู้สึกสั่นไหว 2 ครั้ง เมื่อเวลา
   07.37 และ 10.21 น.
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
24 มิ.ย. 2526 จีน-เวียดนาม 6.1 Mb รู้สึกสั่นไหวบนอาคารสูงใน กทม.
14  15  22.1 น. 21.71N 103.28E
18 ก.ค. 2526 กาญจนบุรี 4.7 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี
00  48  10.3 น. 15.20N 99.02E
30 ส.ค. 2526 กาญจนบุรี 4.2 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.กาญจนบุรี
05  09  57.2 น. 14.92N 99.15E
24 เม.ย. 2527 พม่า-จีน 5.9 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย
05  29  58.3 น. 22.04N 99.14E
29 พ.ค. 2527 สุมาตราตอนบน 5.8 Mb รู้สึกได้ที่ชั้น 11 ของโรงพยาบาลสงขลานครินท์
11  36  09.0 น. 3.57N 97.14 E
25 มี.ค. 2528 อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี 3.5 Ml รู้สึกสั่นไหวที่เขื่อนเขาแหลม
18  56  30.5 น. 14.88N 98.69E
15 ก.ค. 2528 พม่า 5.0 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่
17  38  50.1 น. 19.24 N 97.31 E
18 ต.ค. 2528 ลาว 4.7 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.นครพนม สกลนคร
15  37  44.3 น. 18.31N 104.79 E
25 ธ.ค. 2528 พม่า 4.2 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน
06  04  08.0 น. 18.41N 97.30 E
18 ก.ย. 2529 พม่า 4.4 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่
02  57  15.7 น. 20.16 N 97.97E
30 ม.ค. 2530 เชียงราย 3.8 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่
05  09  02.9 น. 18.98N 98.96E
19 ก.พ. 2531 เชียงใหม่ 4.2 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่
01  38  42.3 น. 18.87N  99.17E
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
25 ก.ค. 2531 พะเยา 4.2 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่
04  51  35.0 น. 19.08 N 100.05 E
6 ส.ค. 2531 พม่า-อินเดีย 6.8 Mb รู้สึกสั่นไหวบนอาคารสูงใน กทม.
07  36  24.6 น. 25.15N 95.13 E  มีผู้เสียชีวิตในพม่า 3 คน
6 พ.ย. 2531 พม่า-จีน 6.1 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย เชียงใหม่ และ
20  03  19.3 น. 22.78 N 99.61E  อาคารสูงใน กทม.
29 พ.ย. 2531 กาญจนบุรี 4.5 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ศรีสวัสดิ์ และ อ.ทองผาภูมิ
06  59 00 น. 15.05 N 99.80E  จ.กาญจนบุรี
1 มี.ค. 2532 พม่า 5.1 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ภาคเหนือตอนบน
10  25  07.8 น. 21.72N 97.93E
8 เม.ย. 2532 ลาว 4.6 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงราย
04  45  18.6 น. 20.58 N 100.58E
20 ส.ค. 2532 พม่า-ไทย  รู้สึกสั่นไหวที่ภาคเหนือตอนบน
11  36  59.0 น. 20.26 N 99.16E 4.3 Mb
11  42  35.8 น. 20.27N  99.32E 4.6 Mb
27 ส.ค. 2532 พม่า-ไทย 4.5 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ภาคเหนือตอนบน
22  20  45.7 น. 20.35N  98.81E
29 ก.ย. 2532 พม่า-ไทย  5.4 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ภาคเหนือตอนบน
04  52  17.0 น. 20.33 N 98.82E
1 ต.ค. 2532 พม่า-ไทย 5.3 Mb รู้สึกสั่นไหวทั่วภาคเหนือตอนบน หลายคนตกใจตื่น
01  19  23.3 น. 20.23N 98.84E  เสียหายเล็กน้อยแก่อาคารที่ จ.เชียงใหม่ และ      
                                    เชียงราย
29 พ.ย. 2532 เชียงใหม่ 3.5 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง อ.สันป่าตอง และ
08  17 00.0 น. 18.50 N 98.90E  อ.หางดง จ.เชียงใหม่
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
15 ธ.ค. 2532 กาญจนบุรี 4.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
00  28 00.0 น.  14.90N 99.80E
9 ม.ค. 2533 อันดามัน 5.2 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.ระนอง
22  35  49.0 น. 11.59 N 95.02E
28 พ.ค. 2533 กาญจนบุรี 4.2 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
18  23 00.0 น. 14.90N 99.80E
14 ก.ค. 2533 พม่า-ลาว 4.5 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย
10  51  55.8 น. 20.53N 100.67E
21 ก.ค. 2533 เชียงราย 3.2 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
08  50 00.0 น. 19.80N 100.20E
10 ก.ย. 2533                       แพร่        3.0 Ml รู้สึกสั่นไหวในรัศมี 20 กม. รอบศูนย์กลาง
16  27 00.0 น.                    18.00N 99.80E
12 ต.ค. 2533                       เพชรบูรณ์       4.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.หล่มสัก อ.หล่มเก่า
19  27 00.0 น.                     16.90N 101.00E  จ.เพชรบูรณ์
23 ต.ค. 2533                       พม่า-ไทย       4.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน
03  38  53.8 น.                     20.38 N 97.60E
3 พ.ย. 2533                        กาญจนบุรี       4.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
21  51 00.0 น.                    15.30N 98.90E
15 พ.ย. 2533                     สุมาตราตอนเหนือ       6.1 Mb รู้สึกสั่นไหวที่ จ.ภูเก็ต จ.สงขลา และ
09  34  32.4 น.                   3.91N 97.46E  บนอาคารสูงใน กทม.
5 ม.ค. 2534                        พม่า       6.2 Mb รู้สึกสั่นไหวบริเวณภาคเหนือ และบนอาคาร
21  57  11.5 น.                   23.61N  95.90E  สูงใน กทม.
1 เม.ย. 2534                       พม่า       6.5 Mb รู้สึกสั่นไหวได้ทั่วไปบนอาคารสูงใน กทม.
10  53  04.5 น.                  15.65N  95.69E
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
12 มิ.ย. 2534 อันดามัน       5.0 Mb รู้สึกสั่นไหวบนอาคารสูงบางแห่งใน กทม.
10  05  21.2 น. 14.85N 96.31E
13 ก.ค. 2534 เพชรบูรณ์       3.5 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เพชรบูรณ์ และ จ.เลย
04  57 00.0 น. 17.30N 101.20E
4 ส.ค. 2534 เชียงใหม่        3.7 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
19  22 00.0 น. 18.50N 98.50E
5 พ.ย. 2534 แม่ฮ่องสอน 4.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ และ
09  11 00.0 น. 18.80 N 97.70E  อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน
23 เม.ย. 2535 พม่า 6.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย และ
21  18  38.9 น. 22.34N  98.84E  พะเยา
15 มิ.ย. 2535 พม่า 5.7 Mb รู้สึกสั่นไหวบนอาคารสูงใน กทม.
09  48  56.1 น. 23.99N  95.89E
25 ก.ค. 2535 นครราชสีมา 3.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
02  18 00.0 น. 15.00N 101.00E
28 ต.ค. 2535 พม่า 6.0 Ml รู้สึกสั่นไหวที่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย
14  02 00.0 น. 18.30N  96.80E  แม่ฮ่องสอน และบนอาคารสูงใน กทม.
20 ม.ค. 2536 สุมาตราตอน 6.2 Mb รู้สึกบนอาคารสูง อ.หาดใหญ่ สงขลา
09  03  55.0 น. 03.10N  97.70E
21 พ.ย. 2536 พรมแดนไทย-พม่า 4.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.แม่ฮ่องสอน และ จ.เชียงใหม่
20 56 00.0 น. 19.70N 97.30E
17 ม.ค. 2537 ชายฝั่งตอนใต้พม่า 4.7 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.ปะทิว จ.ชุมพร
04.37 00.0 น. 11.80N  98.70E  นาน 15-20 วินาที
8 พ.ค. 2537 จ.เชียงใหม่ 4.5 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
02.56 00.0 น. 18.30N  99.20E  จ.ลำปาง จ.ลำพูน
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
10 พ.ค. 2537 จ.เชียงใหม่ 3.5 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
01 06 00.0 น. 19.10N 99.60E
29 พ.ค. 2537 ประเทศพม่า 6.2 Ml รู้สึกได้ที่อาคารสูง อ.เมือง จ.เชียงใหม่
21 12 00.0 น. 20.90N 94.20E
20 ส.ค. 2537 ประเทศพม่า 6.0 Ml รู้สึกได้ที่บริเวณภาคเหนือ
04 03 00.0 น. 16.80N 97.00E
11 ก.ย. 2537 อ.แม่สรวย 3.0, 5.1 Ml รู้สึกได้ที่ จ.เชียงราย
03.34, 08.31 น. จ.เชียงราย  มีความเสียหายต่อสิ่งก่อสร้างใกล้ศูนย์กลาง
 19.46N  99.60E  เช่น โรงพยาบาลพาน วัดและโรงเรียน เป็นต้น
16 ม.ค. 2538  อ.เชียงของ 3.1 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เชียงของ จ.เชียงราย
12.43 00.0 น. 20.20N 100.50E
25 ม.ค. 2538 พรมแดนพม่า-ลาว 5.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
11.56 00.0 น. 21.00N 100.60E
24 ก.พ. 2538 สันทราย-สันกำแพง 3.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.สันกำแพง
00.11 00.0 น. 18.90N 99.00E  อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
24 ก.พ. 2538 ประเทศพม่า 5.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
15.11 00.0 น. 21.80N 99.50E
25 ก.พ. 2538 อ.หางดง 2.5, 3.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.หางดง
8.50, 9.03 น. 19.70N 98.60E  และ อ.สันป่าตอง
17 พ.ค. 2538 ประเทศพม่า 6.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
04.58 00.0 น. 18.00N 96.30E  และ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน
30 มิ.ย. 2538 ประเทศพม่า 5.5 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
06.04 00.0 น. 22.10N 98.80E
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
10 ก.ค. 2538 ประเทศพม่า 6.6 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ และ
03.32 00.0 น. 22.10N 99.00E  อ.เมือง จ.เชียงราย
12 ก.ค. 2538 ประเทศพม่า 7.2 Mb รู้สึกได้ที่ บริเวณภาคเหนือตอนบน
04.47 00.0 น. 22.00N  99.20E  และอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร
   มีความเสียหายเล็กน้อยต่ออาคารและสิ่งก่อสร้าง
7 ส.ค. 2538 ประเทศพม่า 5.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
10.27 00.0 น. 22.00N 99.30E
17 ต.ค. 2538 อ.ปาย แม่ฮ่องสอน 4.3 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
03.56 00.0 น. 19.80N 98.80E
5 พ.ย. 2538 อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 4.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
06.57 00.0 น. 19.80N  98.80E
8 พ.ย. 2538 ทะเลอันดามัน 6.9 Mb ศูนย์กลางอยู่บริเวณทะเลอันดามันด้านชายฝั่ง
14.15 00.0 น. 1.870N  95.08E  ตะวันตกของเกาะสุมาตรา รู้สึกได้บนอาคารสูง
   อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
15 พ.ย. 2538 อ.เมือง จ.พะเยา 3.0 Ml รู้สึกได้บริเวณ อ.เมือง จ.พะเยา ทางทิศตะวันออก
01.30 00.0 น.   เฉียงเหนือของ สถานีตรวจแผ่นดินไหวเชียงใหม่
   ประมาณ 110 กม.
9 ธ.ค. 2538 อ.ร้องกวาง จ.แพร่ 5.1 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง
20.26 00.0 น. 18.20E  99.80E  พะเยา แพร่ อุตรดิตถ์ และน่าน เสียหายเล็กน้อย
   ที่ จ.แพร่
21 ธ.ค. 2538 อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ 5.2 Ml รู้สึกได้ที่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลำปาง
23.30 00.0 น. 19.70E 99.00E  ลำพูน และแม่ฮ่องสอน มีผู้เสียชีวิตที่ อ.เมือง
   จ.เชียงใหม่ 1 คน เนื่องจากมีอายุมากล้มศรีษะ
   กระแทกพื้น มีความเสียหายเล็กน้อยที่บริเวณ
   ใกล้ศูนย์กลาง
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
5 ม.ค. 2539 พม่า-จีน 4.2, 4.1 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
11.14, 11.29 น. 20.80N 99.60E
31 มี.ค. 2539 อ.หางดง-อ.สันป่าตอง 3.5 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.หางดง อ.สันป่าตอง
03.36 00.0 น. 18.40N  98.50E  จ.เชียงใหม่
2 เม.ย. 2539 อ.ไชยปราการ จ.เชียงใหม่ 3.0 Ml อ.ไชยปราการ จ.เชียงใหม่
22.23 00.0 น. 19.72N 99.29E
10 เม.ย. 2539 ลุ่มแม่น้ำสาละวิน พม่า 5.0 Ml อ.เมือง และบริเวณรอบ ๆ จ.เชียงใหม่
05.01 00.0 น. 20.40N  98.50E
22 เม.ย. 2539 อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ 3.0 Ml อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่
02.59 00.0 น. 18.50N  98.70E
15 ก.ค. 2539 พรมแดนจีน-พม่า 5.0 Ml รู้สึกได้ที่หอบังคับการบิน อ.เมือง
12.28 00.0 น. 22.00N  99.30E  จ.เชียงราย
9 พ.ย. 2539 พรมแดนจีน-พม่า 5.0 Ml รู้สึกการสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
10.40 00.0 น. 22.00N 99.30E
11 พ.ย. 2539 บริเวณพม่า 6.5 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ และ
16.22 00.0 น. 18.50N 95.60E  อ.เมือง จ.เชียงราย
22 ธ.ค. 2539       พรมแดนไทย-ลาว 5.5 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ และ
00.51 00.0 น.       20.40N 100.10E  มีความเสียหายเล็กน้อยที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
15 ม.ค. 2540       บริเวณประเทศพม่า 4.6 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
08.26 00.0 น.       18.50N 95.60E
2 ก.พ. 2540        บริเวณ อ.สอง จ.แพร่ 4.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.สอง จ.แพร่
19.35 00.0 น.        18.40N 99.90E
6 มิ.ย. 2540        บริเวณพรมแดนไทย-พม่า 4.0 Ml รู้สึกการสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
18.06 00.0 น.        20.00N  99.00E
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/                 ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก               ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
20 ส.ค. 2540 บริเวณเกาะสุมาตราตอนบน 6.5 Ml รู้สึกสั่นไหวบนอาคารสูงใน จ.สงขลา
14.18 น.
21 ก.ย. 2540 บริเวณประเทศพม่า 4.5 Ml รู้สึกได้ที่ อ.แม่อาย อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
20.19 น. 20.80N 99.00E
23 พ.ค. 2541 พรมแดนไทย-พม่า 4.8 Ml รู้สึกได้ที่ จ.แม่ฮ่องสอน จ.เชียงราย จ.เชียงใหม่
11.43 น. 19.70N  98.70E
25 มิ.ย. 2541 อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์ 2.3 Ml รู้สึกได้ที่ อ.ท่าปลา อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์
19.45 น. 17.80N 100.60E 2.8 Ml
26 มิ.ย. 2541 อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์ 3.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์
05.39 น. 17.80N 100.60E
30 มิ.ย. 2541 พรมแดนไทย-พม่า 3.1 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน
20.19 น. 19.70N 98.70E
13 ก.ค. 2541 อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 4.1Ml รู้สึกได้ที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่
09.20 น. 19.70N 99.10E  และ จ.เชียงราย
12.56 น. 19.60N  99.10E 3.5 Ml
17 ส.ค. 2541 อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา 3.9 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.ดอกคำใต้ จ.พะเยา
20.41 น. 19.30N 99.00E
14 พ.ย. 2541 อ.เมือง จ.ลำพูน 3.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.ลำพูน และ
03.30 น. 18.50N 99.10E  อ.สารถี จ.เชียงใหม่
พ.ศ. 2542
31 มี.ค. 2542 ใกล้พรมแดนไทย- ลาว 4.8 Ml รู้สึกได้ที่ จ. น่าน
10.19 น. 19.40N 101.30E
3 เม.ย. 2542 ใกล้พรมแดนไทย-พม่า 3.2 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
07.47 น. 20.50N 99.80E
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
29 มิ.ย. 2542 อยู่ในเขตประเทศพม่า 5.6 Ml รู้สึกได้ที่ จ.เชียงราย
06.38 น. 21.00N 100.50E
15 ส.ค. 2542 บริเวณตอนใต้ของพม่า 5.6 Ml รู้สึกได้ที่ จ.เชียงใหม่
23.19 น. 18.10N 97.00E
17 ส.ค. 2542 บริเวณทะเลอันดามัน  2.1 Ml รู้สึกได้ที่ จ.ภูเก็ต และ จ.พังงา
23.39 น. ระยะทางห่างประมาณ10 กม.
 ไปทางทิศตะวันออกค่อนทางใต้
 เล็กน้อยของท่าอากาศยานภูเก็ต
 8.10N 98.30E
29 ส.ค. 2542 บริเวณทะเลอันดามัน 2.1 Ml  รู้สึกได้ที่ จ.ภูเก็ต และ จ.พังงา
07.41 น. ระยะทางห่างประมาณ 10 กม.
 ไปทางทิศตะวันออกค่อนทางใต้
 เล็กน้อยของท่าอากาศยานภูเก็ต
พ.ศ.2543
20 ม.ค 2543 ประเทศลาว อ.หงสา จ.สยาบุรี 5.9 Ml รู้สึกได้ที่  อ.เมือง  อ.ท่าวังผา อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน
 03:59:00 น. 19.90 N  100.78 E  จ.แพร่  จ.พะเยา จ.เชียงราย  มีความเสียหายเล็ก              
   น้อยที่ จ.น่าน และแพร่
14 เม.ย. 2543 พรมแดนลาว-เวียตนาม 4.9 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.สกลนคร
18:12:00 น.                        18.00N 104.60 E
29 พ.ค. 2543 อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่  3.8Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.สันกำแพง อ.สันทราย
02:41:00 น. 18.72N 99.32 E  จ.เชียงใหม่ มีความเสียหายเล็กน้อย บริเวณใกล้ศูนย์กลาง
7 ส.ค. 2543 พรมแดนไทย-พม่า 3.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง  จ. แม่ฮ่องสอน
18:28:00 น. 18.10 N 97.50 E
13 ก.ย. 2543 อ.ปาย จ. แม่ฮ่องสอน 3.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.ปาย จ. แม่ฮ่องสอน
03:51:00 น.                        18.92 N 99.63 E  
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
พ.ศ. 2544
4 ม.ค. 2544 จ.เชียงตุง  พม่า 4.6,5.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
09.05,11.03 น.   21.40 N 98.60 E
22 ก.พ. 2544 เขื่อนเขาแหลม 4.3 Ml รู้สึกได้ที่ อ.ทองผาภูมิ  จ.กาญจนบุรี
05:03:00 น.   14.97N 98.59E
2 ก.ค. 2544 พรมแดนไทย-พม่า 4.6 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ อ.แม่สะเรียง
23:55:10 น.                        17.87 N 97.79 E  จ.แม่ฮ่องสอน
11 พ.ย. 2544 จ.เชียงราย  3.7 Ml รู้สึกได้ที่ อ.พาน  จ.เชียงราย
18:38:00 น. 19.29 N 99.76 E
พ.ศ.2545
25 เม.ย. 2545 อ.สารภี จ.เชียงใหม่ 2.2 Ml รู้สึกได้ที่ อ.สารภี จ.เชียงใหม่
18:49:00 น.  18.70N 99.10 E
27 เม.ย. 2545 อ.สารภี อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ 3.2 Ml รู้สึกได้ที่ อ.สันกำแพง  อ.สารภี และ อ.เมือง
03:32:00 น. 18.80 N 99.20 E  จังหวัดเชียงใหม่
8 พ.ค. 2545 อ.แม่สรวย จ. เชียงราย 2.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.แม่สรวย  อ.เมือง  จ.เชียงราย
20:05:00 น. 19.50 N 99.60 E
19 พ.ค. 2545 อ. สารภี. จ. เชียงใหม่ 2.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ. เมือง จ. เชียงใหม่
14:31:00 น. 18.70N  99.10 E
2 ก.ค. 2545 อ.เชียงแสน จ. เชียงราย 4.7 Ml รู้สึกได้ที่ อ .เชียงแสน อ.เมือง  อ.เชียงของ จ. เชียงราย
10:54:00 น. 20.20N10010E  อ.เมือง จ.พะเยา อ.เมือง จ.น่าน
    มีความเสียหายเล็กน้อยบริเวณ อ.เชียงแสน อ.เชียงของ
18 ก.ค. 2545 ประเทศพม่า 5.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ. เมือง จ.เชียงราย
16:50:00 น. 21.00 N 97.50E


วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
พ.ศ.2545
19 ก.ค. 2545 ประเทศพม่า(Aftershock) 4.6 Ml รู้สึกได้ที่ อ. เมือง จ.เชียงราย
12:39:00 น. 21.00N 97.50 E
19 ส.ค. 2545 พรมแดนไทย-พม่า 4.8 Ml รู้สึกได้ที่ อ.แม่สอด  จ.ตาก
04.07 00.0 น. 17.20N 97.60E
2 พ.ย. 2545 ตอนใต้เกาะสุมาตรา 7.5 Ml รู้สึกได้ที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
08.26 00.0 น. 3.02N 96.18E
18 ธ.ค. 2545 อ. เชียงดาว จ. เชียงใหม่ 4.3Ml รู้สึกได้ที่ อ.เชียงดาว จ. เชียงราย
20.47 00.0 น. 19.40N 99.10E
พ.ศ. 2546
22 ม.ค.2546 บริเวณเกาะสุมาตรา 7.0Ml รู้สึกได้บนอาคารสูงในหลายพื้นที่ ของ
10:00:00 น.     5.90N  95.60E                                                กรุงเทพมหานครรวมทั้งหลายจังหวัดในภาคใต้
26 ก.พ.2546 อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 3.0Ml สึกได้ที่  อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
05:19:00 น.                        20.02N 99.97E
23 ส.ค.2546                       อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 2.5 Ml รู้สึกสั่นสะเทือนที่ อ.ดอยสะเก็ด  อ.สันกำแพง
15:57:00 น.                          19.0 N 99.20 E  จ.เชียงใหม่
14 ก.ย. 2546                       เกาะสุมาตรา  อินโดนีเซีย 5.0 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง  จ.ภูเก็ต
03:42:00 น.                         4.64 N 97.59 E
18 ก.ย. 2546                        ลาว – พม่า 5.5 Ml รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
18:04:00 น.                          20.50 N 100.90 E
22 ก.ย. 2546                        พม่า                                       6.7Ml                   รู้สึกได้ที่ อ.เมือง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
01:16:00 น.                          19.40N 96.20E                              และอาคารสูงบางแห่งของกรุงเทพฯ


พ.ศ. 2547
3 ก.พ. 2547   อ.สันทราย  จ.เชียงใหม่ 1.9 Ml รู้สึกสั่นสะเทือนที่ อ.สันทราย อ.ดอยสะเก็ด
24: 58:00 น.   18.90N 99.00E  จ.เชียงใหม่
. วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
พ.ศ. 2547
27 มี.ค. 47 อ.แม่สรวย จ.เชียงราย 3.4 Ml รู้สึกสั่นสะเทือนที่ อ.แม่สรวย จ.เชียงราย
11:05:00 น. 19.43N 99.46E
6 เม.ย. 47 อ.เมือง จ.เชียงราย 3.1Ml รู้สึกสั่นสะเทือนที่ อ.เมือง จ.เชียงราย
11:49:00 น. 19.79N 99.75E
30 พ.ค. 47 อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 2.0 Ml รู้สึกสั่นสะเทือนที่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่
23:53:00 น. 18.9N 99.0E 
11 ก.ย. 47 อ.สเมิง จ.เชียงใหม่ 3.7Ml รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เมือง อ.หางดง จ.เชียงใหม่
08.30 น. 18.7 N 98.7E
17 ก.ย. 47 ทะเลอันดามัน 5.8 Ml รู้สึกสั่นสะเทือนได้บนอาคารสูงของ กทม.
18.25 น. 14.9N 96.3E
26 ธ.ค. 47 เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย 8.0Ml รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทุกจังหวัดในภาคใต้
07.58 น. 3.4N 95.7E  รวมถึงอาคารสูงหลายแห่งใน กทม.และเกิดคลื่นสึนามิก่อ   
                                                                                                                     ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากบริเวณภาคใต้
                                                                                                                     ฝั่งตะวันตก มีผู้เสียชีวิตกว่า 5,000 คน
26 ธ.ค. 47 ประเทศพม่า 6.4Ml รู้สึกได้หลายจังหวัดในภาคเหนือ ได้แก่ ลำปาง เชียงใหม่
08.30 น. 20.7N 98.0E  เชียงราย และกทม.
27 ธ.ค. 47 ทะเลอันดามัน 6.6Ml รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่จังหวัดภูเก็ต
16.39 น. 6.09N 94.60E
30 ธ.ค. 47 ประเทศพม่า 5.4,5.6Ml รู้สึกได้บนอาคารสูงใน อ.เมือง จ.เชียงใหม่
08.07,08.13
 วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
พ.ศ. 2548
9 ก.พ. 2548  เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย  5.8 รู้สึกได้ที่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต
20.28 น.
16 ก.พ. 2548  เกาะนิโคบาร์ อินเดีย  5.8 รู้สึกได้บนอาคารสูง จ.ภูเก็ต
15.19 น.  8.73 N 93.23 E
28 มี.ค. 2548  เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย  8.5 ห่างจาก จ.ภูเก็ต ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
23.10 น.  2.0 N 97.0 E    ประมาณ 670 กม.มีคำเตือนให้ประชาชนอพยพ
10 เม.ย.2548  เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย  6.7     ไม่มีรายงานความสั่นสะเทือนในประเทศไทย
17.29 น.  0.3 N 98.1 E
14 พ.ค. 2548  เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย  6.5     ไม่มีรายงานความสั่นสะเทือนในประเทศไทย
12.05 น.  1.4 N 98.6 E
19 พ.ค. 2548  เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย  6.8 รู้สึกได้หลายจังหวัดในภาคใต้ตอนล่าง และ
08.55 น.  2.0 N 97.0E    บนอาคารสูงบางแห่งในกรุงเทพฯ
22 พ.ค. 2548  เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย  6.1 ไม่มีรายงานความสั่นสะเทือนในประเทศไทย
06.01 น.  5.7 N 95.0 E
5 มิ.ย. 2548  อ.ท่าปลา  จ.อุตรดิตถ์  2.8 รู้สึกสั่นสะเทือนได้เล็กน้อยในบริเวณใกล้
06.17 น.  17.8 N 100.6 E    ศูนย์กลาง
5 มิ.ย. 2548  อ.ลี้  จ.ลำพูน   3.0 ห่างจาก จ.เชียงใหม่ ไปทางทิศใต้ประมาณ
08.53 น.  17.8N 99.0 E    110 กม.


                    
. วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
พ.ศ. 2548
5 ก.ค. 2548  เกาะสุมาตรา  อินโดนีเซีย  6.8  ห่างจาก จ.ภูเก็ตไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
08.52 น.  2.5 N 97.0 E    ประมาณ 700 กม.
24 ก.ค. 2548  หมู่เกาะนิโคบาร์ อินเดีย  7.2 ห่างจาก จ.ภูเก็ตไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้
22.42 น.  7.9 N 92.1 E    ประมาณ 640 กม. เตือนให้ประชาชนอพยพ
7 ก.ย. 2548  เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย  5.0 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.พังงาและ จ.ภูเก็ต
06.22 น.  5.78 N 98.33 E
18 ก.ย. 2548  พรมแดนพม่า – อินเดีย  6.0  รู้สึกสั่นสะเทือนบนอาคารสูง จ.เชียงใหม่
14.26 น.  24.62 N 94.50 E
11 ต.ค.2548  ตอนเหนือเกาะสุมาตรา  6.2 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.พังงาและ จ.ภูเก็ต
22.05 น.  4.50 N 95.10E
19 พ.ย. 2548  ตอนเหนือเกาะสุมาตรา  6.1 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.พังงา และ จ.ภูเก็ต
21.10 น.  2.20 N 96.50E 
4 ธ.ค. 2548   จ.เชียงใหม่   4.1 รู้สึกสั่นสะเทือนได้บนอาคารสูง จ.เชียงใหม่
16.34 น.  18.70 N 98.50 E    และ จ.ลำพูน
7 ธ.ค. 2548  จ.เชียงราย   3.9 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่สรวย จ.เชียงราย
16.02 น.  19.70N 99.60E 
15 ธ.ค. 2548  จ.เชียงราย   4.1 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เมือง อ.เทิง จ.เชียงราย
13.48 น.  19.43N 100.18E 
 
                 
 
วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
พ.ศ. 2549
16 ธ.ค. 2548  จ.เชียงราย   3.8, 3.9 รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.ป่าแดด จ.เชียงราย
09.13, 09.14 น.  19.43N 99.96E 
24 ม.ค. 2549  รัฐฉาน  พม่า  5.7             รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน
20.42 น.  20.53 N 98.69 E 
16 มี.ค.2549  เชียงใหม่  3.0  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.จอมทอง  อ.เมือง อ.แม่วาง
20.34 น.       จ.เชียงใหม่
13 ก.ค.2549  อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 3.0  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.หางดง อ.สันป่าตอง
07.28 น.  18.8 N  98.8 E      จ. เชียงใหม่
6 ส.ค.2549  อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 3.4  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
12.15 น.  19.15 N 98.92 E
27 ก.ย.2549  ประเทศพม่า  4.8  รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทั่วไปของจังหวัด
21.30,23.15 น.  12.02 N 99.17E    ประจวบคีรีขันธ์
28 ก.ย.2549  ประเทศพม่า  4.8  รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทั่วไปของจังหวัด
00.35 ,01.45 น.  12.02 N 99.17E    ประจวบคีรีขันธ์
28 ก.ย.2549  ประเทศพม่า  5.0  รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทั่วไปของจังหวัด
16.50 น.  12.24 N 99.31E    ประจวบคีรีขันธ์
8  ต.ค. 2549  ประเทศพม่า  5.6  รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทั่วไปของจังหวัด
04.17  น.  12.02 N 99.17 E    ประจวบคีรีขันธ์ ,อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี
        อ.โพธาราม จ.ราชบุรี,อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม
                    


วัน  เดือน  ปี     ศูนย์กลาง/               ขนาด/     บันทึกเหตุการณ์
   ตำแหน่งที่รู้สึก            ความรุนแรง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
พ.ศ. 2549
17  พ.ย  2549  อ.พาน จ.เชียงราย 4.4  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.พาน,อ.เมือง จ.เชียงราย
01.39  น.  19.50 N 99.6 E
1 ธ.ค. 2549   เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย    6.5  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
10.58 น.  3.49 N 99.2 E    และ จ.นราธิวาส  
13 ธ.ค. 2549  อ.แม่ริม  จ.เชียงใหม่ 5.1  รู้สึกสั่นสะเทือนได้เกือบทั่วไปใน จ.เชียงใหม่
00.02 น.  18.93 N 98.97 E    และอาคารสูงใน จ.เชียงราย
19 ธ.ค. 2549  อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 2.7  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
07.03 น.  19.02 N 99.08 E
22 ธ.ค. 2549  อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 2.2  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
16.41 น.  19.0 N 99.0 E
22 ธ.ค. 2549  อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน 3.3  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่บริเวณ จ.แม่ฮ่องสอน
22.59 น.  19.3 N 98.1 E
23 ธ.ค. 2549  อ.แม่ริม  จ.เชียงใหม่ 3.6  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
18.51 น.  19.0 N 99.0 E
6 ม.ค. 2550  อ.แม่ริม  จ.เชียงใหม่ 3.1  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เมือง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
18.51 น.  18.9 N 99.0 E
22 เม.ย. 2550              อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย  4.5  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย
13.18 น.  19.40 N 94.36 E                                           และ จ. พะเยา


27 เม.ย. 2550              ตอนเหนือของสุมาตรา  6.1  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.ภูเก็ต
15.03 น.  5.32 N 94.61 E                                          
15 พ.ค. 2550  พรมแดนลาว – พม่า 5.1  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย
21.35 น.  20.87 N 100.74 E
16 พ.ค. 2550  พรมแดนลาว – พม่า 6.1  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ หลายจังหวัดในภาคเหนือ
15.57 น.  21.1 N 100.32 E    และอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร
19 มิ.ย. 2550  อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 4.5  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
12.06 น.  18.9 N 99.0 E    และ จ.ลำพูน
23 มิ.ย. 2550  พม่า   5.5,5.2  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
15.17,15.27 น.  21.27 N 99.82 E    และอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร
12 ก.ย. 2550  ตอนใต้ของสุมาตรา  8.4  รู้สึกสั่นสะเทือนได้บนอาคารสูง
18.10 น.  3.8 S 102.0 E    ในกรุงเทพมหานคร
13 ก.ย. 2550  ตอนใต้ของสุมาตรา  7.1  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ บนอาคารสูงบางแห่ง
10.35 น.  2.65 S 99.87 E    ในกรุงเทพมหานคร
16 ต.ค. 2550  ตอนเหนือของลาว  5.0  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย
13.47 น.  20.84 N 100.93 E
2 พ.ย. 2550  พรมแดนพม่า-ลาว-จีน  5.7  รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย
02.05 น.  21.57 N 100.92 E
28 ธ.ค. 2550                     ตอนเหนือของสุมาตรา    5.7                       รู้สึกสั่นสะเทือนได้บนอาคารสูง จ.ภูเก็ต
12.24 น.                            5.42 N 95.91E                                             จ.พังงา
20 ก.พ.51  ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 7.5  รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯและจ.ภูเก็ต
15.05 น.  2.70N 95.90E    อาจเกิดสึนามิขนาดเล็กบริเวณใกล้ศูนย์กลาง
22 เม.ย.51  อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 3.9               รู้สึกสั่นไหวได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
02.31 น.  18.89N 98.97E
12 พ.ค.51                        มณฑลเสฉวน ,จีน             7.8  รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯหลายแห่ง
13.27 น.                          31.7 N 102.7 E                                             ประเทศจีนมีผู้เสียชีวิตประมาณ 20,000 คน
1 ก.ค.51  อ.พร้าว เชียงใหม่ 3.8  รู้สึกสั่นไหวได้ที่ จ.เชียงใหม่
16.45 น.  19.26 N  99.24 E
21 ส.ค.51  พรมแดนพม่า-จีน 5.7  รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯหลายแห่ง
19.24 น.  25.1 N  97.82 E                 ประเทศจีนมีผู้เสียชีวิต 1 คน บาดเจ็บหลายคน


22 ก.ย.51  ชายฝั่งตอนใต้ของพม่า 5.2  รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงหลายแห่งในกรุงเทพฯ
20.30 น.  15.7 N  96.2 E              


23 ธ.ค.51  อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี 4.1  รู้สึกสั่นไหวในบริเวณ อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี
13.38 น.  8.65 N  98.99 E
30 ก.ย.52  ตอนกลางเกาะสุมาตรา 7.9  รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ
 17.16 น.                           1.1S  99.1E                                                ประเทศอินโดนีเซียมีผู้เสียชีวิตประมาณ 1000 คน
20 มี.ค. 53                         ประเทศพม่า                    5.0                       รู้สึกสั่นไหวที่ จ. เชียงราย
  02.53 น.                           21.2 N 100.3 E   

5 เม.ย. 2553     อ.เวียง ชัย จ.เชียงราย  3.5  รู้สึกสั่นไหวบริเวณ อ.เมือง จ.เชียงราย
06:42:52  (19.94N,99.95E)
9 พฤษภาคม 2553    ชายฝั่งตอนเหนือของ   7.3   รู้สึกสั่นไหวได้บนอาคารสูงบางแห่ง
19:59   เกาะสุมาตรา อินโดฯ   ใน จ.ภูเก็ต, จ.พังงา, จ.สุราษฎร์ธานี, จ.สงขลา
   (3.59N,96.04E)    และ กทม.
6 กรกฎาคม 2553 ประเทศพม่า   4.5  รู้สึกสั่นไหวได้ทั่วไปบริเวณ อ.แม่สาย อ.แม่จัน
22:23    (20.42N,99.83E)    อ.แม่ฟ้าหลวง อ.เชียงแสน และ อ.เมือง จ.เชียงราย


กัมมันตภาพ รังสี
ระเบิดไฮโดรเจนของจีน (Chinese H-bomb)  http://www.nst.or.th/article/article0143.htm
ในปี 1967 จีนได้ทดลองระเบิดไฮโดรเจนลูกแรก ซึ่งเป็นการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ครั้งที่ 6 ของจีน และเป็นการทดลองในแบบที่มีการระเบิด
เข้าด้านใน (Teller-Ulam) เต็มรูปแบบเป็นครั้งแรก ตัวระเบิดประกอบด้วยยูเรเนียม-235 (U-235) ลิเทียม-6
ดิวทีไรด์ (lithium-6 deuteride) และยูเรเนียม-238 (U-238) มีการจุดระเบิดที่ความสูง 2960 เมตร เหนือ Lop Nur Test Ground หลังจากที่ปล่อย
จากเครื่องบิน มีความแรงระเบิด 3.3 เมกกะตัน (megatons) การทดลองนี้เกิดขึ้นภายหลังจากการทดลอง
ระเบิดปรมาณูครั้งแรกของจีน เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 1964 เพียง 32 เดือน ถือเป็นการทิ้งช่วงห่างของการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ที่สั้นที่สุด จีน
ทดลองระเบิดปรมาณูครั้งแรก โดยใช้ปฏิกิริยาฟิชชันของยูเรเนียม-235 (U-235) อย่างเดียว เนื่องจากยังไม่
มีพลูโตเนียม ระเบิดมีชื่อว่า "596" มีน้ำหนัก 1550 กิโลกรัม มีแรงระเบิด 22 กิโลตัน

ฝุ่นกัมมันตภาพรังสีในบริเวณบรรยากาศชั้นนอก   http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=1918
                                เป็นฝุ่นของกัมมันตภาพรังสีที่ลอยไปสะสมอยู่ในบรรยากาศชั้นสตราโทสเฟียร์
                                ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากที่มีการระเบิดของระเบิดนิวเคลียร์ประมาณ
                                1 ปี ฝุ่นชนิดนี้จะกินพื้นที่รอบโลก


                                ที่มาข้อมูล : http://www.rmutphysics.com
The truth about "ฝุ่นนิวเคลียร์ เบตาดีัน"   http://rayon.exteen.com/20110315/the-truth-about
 ไอโอดีน ไม่ได้เป็นวิธีช่วยอะไรในการขับออก ของกัมมันภาพรังสีค่ะ (แต่ที่ทางญี่ปุ่นแจกเพราะลดการสะสมให้น้อยที่สุดเพื่อให้ไอโอดีน
ธรรมดา challengeกับสารไอโอดีนที่เป็นกัมมันภาพรังสีให้น้อยสะสมในคนน้อยที่สุด ซึ่งเขาแจกเพราะนั่น
คือพื้นที่ RED ZONE นะคะ ไม่ใช่เมืองไทยที่ไกลกันเป็นพันกว่ากิโลเมตร อาจจะทำได้โดยใช้ตัวจับโลหะหนักบางตัวเอาออก
ระเบิดปรมาณู (Atomic bomb)
ในปี 1946 ระเบิดปรมาณูลูกแรกของสหรัฐ ชื่อ "Able" ได้ถูกทิ้งลงจากเครื่องบิน B-29 Superfortress ชื่อว่า Dave's Dream ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง
ของปฏิบัติการ Crossroads โดยทิ้งลงเหนือกลุ่มเรือที่ใช้เป็นเป้า 73 ลำ บริเวณหมู่เกาะบิกินี (Bikini Lagoon)
ในมหาสมุทรแปซิฟิก มีการระเบิดที่ความสูง 520 ฟุต แรงระเบิด ทำให้เรือขนส่ง Gilliam และ Carlisle จมลง โดยเรืออีก 18 ลำ ได้รับความเสีย
หาย
เรื่องของ บิกีนี่ (bikini) http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic=5189.0;wap2
http://dektube.com/action/viewvideo/11950/Chinese_Thermonuclear_Test___/?vpkey=
การปล่อยอาวุธนิวเคลียร์
(Weapons delivery)
คำว่า อาวุธนิวเคลียร์ทางยุทธศาสตร์ (strategic nuclear weapons) ส่วนใหญ่มักจะหมายถึงอาวุธขนาดใหญ่ ที่ใช้ทำลายเป้าหมายขนาดใหญ่ เช่น
ตัวเมือง อาวุธนิวเคลียร์ทางยุทธวิธี (Tactical nuclear weapons) จะมีขนาดเล็กกว่า ใช้สำหรับทำลายเป้า
หมายทางการทหาร ระบบการสื่อสาร หรือเป้าหมายที่เป็นโครงสร้างพื้นฐาน โดยมาตรฐานสมัยใหม่แล้ว ระเบิดนิวเคลียร์ที่ทำลายเมืองฮิโรชิ
มาและนางาซากิ เมื่อปี 1945 ถือเป็นอาวุธนิวเคลียร์ทางยุทธวิธี ซึ่งมีขนาด 13 ถึง 22 กิโลตัน แต่อาวุธ
นิวเคลียร์ทางยุทธวิธีสมัยใหม่จะมีขนาดและน้ำหนักเบากว่า
วิธีการพื้นฐานในการส่งอาวุธนิวเคลียร์
การปล่อยจากเครื่องบิน (Free-fall bombs) อาวุธสมัยก่อนมีขนาดใหญ่ จึงต้องบรรทุกโดยใช้เครื่องบินทิ้งระเบิด เช่น B-52 และ V bombers
ในตอนกลางทศวรรษ 1950 มีการพัฒนาให้มีขนาดเล็กลง ทำให้สามารถบรรทุกโดยใช้เครื่องบินแบบโจมตี
(fighter-bombers) การทิ้งลงจากอากาศสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การทิ้งลงมาโดยตรง การใช้ร่มเพื่อถ่วงเวลา และการใช้ laydown modes
เพื่อให้เครื่องบินสามารถหนีพ้นไปจากรัศมีระเบิด
ขีปนาวุธติดจรวด (ballistic missiles) ขีปนาวุธแบบนี้ ส่วนใหญ่ใช้สำหรับยิงหัวรบนิวเคลียร์ ซึ่งสามารถเคลื่อนที่ได้ มีพิสัยการยิงระดับเป็นสิบ
ถึงระดับร้อยกิโลเมตร ถ้ามีขนาดใหญ่ขึ้น เช่น ICBMs หรือ SLBMs สามารถใช้ยิงข้ามทวีปได้ ขีปนาวุธ
รุ่นก่อนจะใช้ยิงได้หัวรบเดียว มีขนาดเป็นเมกกะตัน หลังจากปี 1970 เป็นต้นมา ขีปนาวุธรุ่นใหม่ มักจะติดตั้งบนยานลำเลียงแบบยิงได้หลาย
หัวรบ (multiple independent reentry vehicles: MIRVs) ซึ่งอาจบรรจุได้ถึง 12 หัวรบ โดยมีขนาดในระดับ
กิโลตัน ทำให้สามารถใช้ขีปนาวุธลูกเดียวยิงเป้าหมายขนาดเล็ก หรือปล่อยหลายหัวรบโดยยิงซ้ำแบบต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความเสียหายมากขึ้น
ขีปนาวุธติดยานขับ (cruise missiles) การใช้เครื่องยนต์ขับดัน หรือจรวดติดขีปนาวุธ โดยมีระบบนำวิถีอัตโนมัติ ให้บินไปในระดับต่ำ ทำให้
ตรวจจับได้ยาก ขีปนาวุธแบบนี้มีพิสัยหรือระยะในการยิงใกล้กว่าขีปนาวุธติดจรวด และส่วนใหญ่ไม่
สามารถยิงได้หลายหัวรบ ขีปนาวุธแบบนี้สามารถปล่อยออกจากยานรบบนพื้นดิน เรือรบ หรือจากเครื่องบินรบ
การปล่อยอาวุธนิวเคลียร์ด้วยวิธีอื่นๆ ได้แก่ การยิงด้วยปืนใหญ่ การวางทุ่นระเบิด เช่น Blue Peacock และการใช้ตอร์ปิโด สำหรับเป็นหัวรบต่อ
ต้านเรือดำน้ำ ในปี 1950 สหรัฐอเมริกาได้พัฒนาหัวรบนิวเคลียร์ขนาดเล็ก สำหรับใช้ในกองทัพอากาศ
ซึ่งส่วนใหญ่ได้เลิกใช้ไป ในปลายทศวรรษ 1960 และระเบิดนิวเคลียร์แบบ depth bombs ได้เลิกใช้ไปในปี 1990 และได้พัฒนาอาวุธนิวเคลียร์
แบบยุทธวิธีขนาดเบา ที่สามารถใช้คนเดียวในการเคลื่อนย้ายได้ ("suitcase bombs") เช่น Special Atomic
Demolition Munition


--------------------------------------------------------------------------------
อ้างอิง


บทความสมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย
Nuclear Society Of Thailand Articles
http://www.watnai.org/einstein/nuclear_st.html
http://www.navy.mi.th/navic/document/820905b.html
ในตารางที่แสดงมีครั้งหนึ่งที่เป็นการทดลองร่วมกันระหว่าง
สหรัฐอเมริกากับอังกฤษ โดยทำ การทดลองระเบิดใต้ติดที่ Nevada Test Site เมื่อ ๑
มีนาคม ค.ศ. ๑๙๖๒ เรียกการทดลองครั้งนี้ ว่า "Pampas"
       ประเทศที่ ๔ ที่มีศักยภาพด้านอาวุธนิวเคลียร์คือประเทศฝรั่งเศส โดยได้เริ่มทำการทดลองระ เบิดนิวเคลียร์ครั้งแรก เป็นการทดลองให้
ระเบิดในอากาศ โดยสร้างโครงเหล็กสูง เหนือทะเลทราย Sahara ในประเทศแอลจีเรีย ทำการทดลอง เมื่อ ๑๓
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๓ และทำการทดลอง ระเบิดนิวเคลียร์ไต้ดินครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ปีเดียวกันที่สหภาพโซเวียตทดลองใต้ดินครั้งแรก
เช่นกัน
       ข้อมูลที่ปรากฎในเอกสารเปิดเผยของหน่วยงาน United States Geological Survey และ Nationnal Earthquake Center ของสหรัฐอเมริกา
ปรากฎว่าฝรั่งเศสเป็นประเทศอันดับที่ ๓ ที่มี จำนวนครั้งของการทดลองระเบิดนิวเคลียร์มาก รองจาก
สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต ทั้งการ ทดลองในบรรยากาศ ในทะเลและใต้ดิน สำหรับสาธารณรัฐประชาชนจีน เริ่มมีศักยภาพด้านอาวุธ
นิวเคลียร์ เนื่องจากความสัมพันธ์อันดีกับสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น ในปี พ.ศ. ๒๕๐๖ ทั้ง สอง
ประเทศได้ร่วมมือกันทำการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ที่ Lop Nor Teat Site ในสาธารณรัฐประ ชาชนจีน และด้วยความร่วมมือ และการสนับ
สนุนด้านเทคโนโลยีด้านนิวเคลียร์จากสหภาพโซเวียต ในที่สุดสาธารณรัฐประชาชนจีนสามารถสร้างอาวุธ
นิวเคลียร์ได้เอง และได้ทำการทดลองระเบิดนิว เคลียร์ครั้งแรกที่ Lop Nor Test Site เมื่อ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ เป็นการทดลองในบรรยากาศ
ชั้นต่ำ ดังนั้นสาธารณรัฐประชาชนจีนจึงเป็นประเทศที่ ๕ ที่มีศักยภาพด้านอาวุธนิวเคลียร์
       ประเทศที่ได้ทำการทดลอง ระเบิดนิวเคลียร์ ก่อนสิ้นยุคสงครามเย็น สาธารณรัฐประชาชนจีน คือ ประเทศอินเดียซึ่งนับเป็นประเทศที่ ๖ ที่
มีศักยภาพด้านอาวุธนิวเคลียร์ อินเดียได้ทำการทดลอง ระเบิดนิวเคลียร์ครั้งแรกเป็นการทดลองใต้ดิน ที่
Rajasthan Desert Test Site เมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ ประเทศที่ ๗ ที่ได้ทำการวิจัยศึกษา เพื่อคิดประดิษฐ์อาวุธนิวเคลียร์ คือ
สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ โดยได้จัดตั้งหน่วยงาน South African Energy Board ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๒ โดยมุ่งหวัง
ผลิตอาวุธนิวเคลียร์ให้สำเร็จ โครงการได้เริ่มอย่างต่อเนื่อง แต่ในที่สุดในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ รัฐบาลแอฟริกาใต้ได้ตัดสินใจลดของเขตของ
โครงการอาวุธนิวเคลียร์ลง ซึ่งตามจริงแล้ว อาวุธนิวเคลียร์ต้นแบบได้สร้างเสร็จตั้งแต่ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๕
แล้วจนถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๓ รัฐบาล แอฟริกาจึงตัดสินใจให้หยุดโครงการอาวุธนิวเคลียร์ทั้งหมด ดังนั้นแอฟริกาจึงมิได้เป็นประเทศที่ ๗ ที่มีและ
ทดลองนิวเคลียร์
       สำหรับประเทศที่ ๗ ที่มีและทำการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ คือ ประเทศปากีสถานโดยปากี สถานได้ทำการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดิน
ครั้งแรกเมื่อ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ และ ครั้งที่ ๒ ในอีก ๒ วันต่อมา หลังจากการทดลองครั้งนี้แล้ว ก็
ยังไม่มีประเทศใด ทำการทดลองอีกเลย ในปัจจุบันมีพื้นที่ต่าง ๆ บนพื้นโลกที่ถูกใช้ในการทดลองระเบิดนิวเคลียร์หลายแห่งด้วยกัน


ธาตุกัมมันตรังสี http://www.oknation.net/blog/nesspisit/2011/03/14/entry-1


          ธาตุกัมมันตรังสี  คือ  ธาตุที่สามารถแผ่รังสีที่มองไม่เห็นได้ด้วยตาเปล่า  สามารถแผ่รังสีและกลายเป็นอะตอมของธาตุอื่นได้   รังสีที่ได้
จากการแผ่รังสีของธาตุ  คือรังสี  แอลฟา  บีตา  และแกรมมา ซึ่งรังสีทั้ง  3  ชนิดมีสมบัติแตกต่างกัน  และมี
อำนาจทะลุทะลวงต่างกัน


ตารางแสดงชนิดและสมบัติของรังสีบางชนิด


ชนิดของรังสี
สัญลักษณ์


สมบัติ


รังสีแอลฟา
หรืออนุภาคแอลฟา


หรือ


      เป็นนิวเคลียสของอะตอมฮีเลียม มีโปรตอนและนิวตรอน อย่างละ+2
อนุภาค มีประจุไฟฟ้า +2 มีเลขมวล 4 มีอำนาจทะลุทะลวงต่ำมาก ไม่สามารถผ่านแผ่นกระดาษหรือโลหะบาง ๆ ได้ เบี่ยงเบนในสนาม
ไฟฟ้าโดยเบนเข้าหาขั้วลบ


รังสีบีตา
หรืออนุภาคบีตา


หรือ


     มีสมบัติเหมือนอิเล็กตรอน มีประจุไฟฟ้า +1 มีมวลเท่ากับมวลของ
อิเล็กตรอน มีอำนาจทะลุทะลวงสูงกว่ารังสีแอลฟาถึง 100 เท่า สามารถผ่าน
แผ่นโลหะบาง ๆ เช่น แผ่นตะกั่วหนา 1 mm หรือแผ่นอะลูมิเนียม หนา 5 mm
มีความเร็วใกล้เคียงความเร็วแสง เบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้า โดยเบนเข้าหา
ขั้วบวก


รังสีแกมมา





     เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก ไม่มีประจุและไม่มีมวล
มีอำนาจทะลุทะลวงสูงมากสามารถทะลุผ่านแผ่นตะกั่วหนา 8 mm หรือผ่าน
แผ่นคอนกรีตหนา ๆ ได้



การเกิดปฏิกิริยาการแตกตัว





แสดงการเบี่ยงเบนของรังสีชนิดต่าง ๆ ในสนามไฟฟ้า





การสลายตัวของสารแล้วให้รังสีแอลฟา


การตรวจสอบสารกัมมันตรังสี
ในการตรวจสอบว่าบริเวณใดมีสารกัมมันตรังสีอยู่หรือไม่ สามารถทำได้โดยใช้วิธีการดังต่อไปนี้
          1.  ใช้ฟิล์มถ่ายรูปหุ้มสารที่สงสัยว่าจะเป็นสารกัมมันตรังสีไว้ในที่มืด  ถ้าฟิล์มปรากฏสีดำ   แสดงว่าสารนั้นมีการแผ่รังสี
          2.  ใช้สารเรืองแสง  โดยนำสารที่ต้องการทดสอบเข้าใกล้สารเรืองแสง  ถ้ามีแสงเรืองเกิดขึ้นแสดงว่าสารนั้นเป็นธาตุกัมมันตรังสี
          3.  ใช้เครื่องตรวจวัดรังสีที่เรียกว่า  ไกเกอร์มูลเลอร์เคาน์เตอร์  ซึ่งสามารถบอกปริมาณของรังสีได้



การใช้ประโยชน์จากธาตุกัมมันตรังสี  มีดังนี้


ทางการแพทย์
          -  ใช้รังสีแกรมมาจากไอโซโทปกัมมันตรังสีบางชนิด  ในการวินิจฉัยโรค
และการบำบัดรักษา  โดยให้ผู้ป่วยกินไอโซโทปกัมมันตรังสี  หรือฉีดเข้าไป   โดยให้ผู้ป่วยกินหรือฉีดเข้าไปในอวัยวะที่ต้องการตรวจสอบ   
          -  ใช้ไอโอดีน - 131  ตรวจและรักษาโรคมะเร็งที่ต่อมไทรอยด์
          -  ใช้แทลเลียม – 201  ตรวจสอบการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
          -  ใช้รังสีแกรมมาจากโคบอลต์ – 60  ในการรักษาโรคมะเร็ง  โดยฉายรังสีเข้าไปทำลายเซลล์มะเร็ง
          -  ใช้ฟอสฟอรัส -  32  ในการรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว
          -  รังสีจากโซเดียม -24  ตรวจการไหลเวียนของโลหิต  สารเหล่านี้จะไหลไปตาม


ระบบหมุนเวียนของร่างกายซึ่งสามารถติดตามการไหลได้โดยใช้เครื่องวัดกัมมันตรังสี


ทางการเกษตร  มีดังนี้
          - ปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อให้ได้พันธุ์ที่แข็งแรง ต้านทานโรคและให้ผลผลิตสูง
          - ฉายรังสีให้กับอาหาร เพื่อถนอมอาหาร    หากใช้ในปริมาณที่พอเหมาะจะสามารถทำลายเชื้อจุลินทรีย์    เชื้อรา   ยีสต์  แบคทีเรีย   รวมทั้ง
เอนไซม์ในอาหารด้วย  ไม่มีผลกระทบต่อผู้บริโภคโดยไม่มีพิษตกค้าง
          - วิเคราะห์ดินเพื่อจำแนกพื้นที่เพาะปลูก
          - กำจัดแมลง อาบรังสีผลผลิต  ป้องกันการงอกและฆ่าเชื้อราบางชนิด   ชะลอการสุกของผลไม้    ผลผลิตที่อาบรังสี  เช่น  หัวหอม   มันฝรั่ง 
แอปเปิ้ล  ผลไม้อื่น ๆ เป็นต้น  รังสีที่นำมาใช้ในการถนอมอาหารคือรังสีแกรมมา


ขนาดของรังสีหรือโดส (กิโลเกรย์)


ประโยชน์หรือโทษ


0.05 – 0.15
0.15 – 0.75


0.25 – 0.50


2.00 – 3.00


มากกว่า  3.00


ยับยั้งการงอกของมันฝรั่ง  มันเทศ  เผือก  หอมหัวใหญ่  กระเทียม  ขิง  แครอท


ใช้เป็นวิธีกำจัดแมลงที่ติดไปกับผักผลไม้


ชะลอการสุกของผลไม้บางชนิด


ควบคุมการเจริญเติบโตของโรคหลังการเก็บเกี่ยว


เกิดอาการผิดปกติที่เนื้อผลไม้  (เช่น เนื้อผลไม้อ่อนนุ่มและมีกลิ่นแปลกปลอม)


ทางอุตสาหกรรม    
          - ใช้รังสีแกรมมาและรังสีเอ็กซ์  ตรวจหารอยรั่วของท่อแก๊สใต้พื้นดิน   โดยบรรจุแก๊สลงในท่อเมื่อท่อรั่วแก๊สจะกระจายสู่บรรยากาศ ซึ่ง
สามารถใช้เครื่องวัดตรวจสอบได้
          - การวัดความหนาของวัตถุที่เป็นแผ่น เช่น แผ่นเหล็ก  แผ่นกระดาษ  พลาสติก  เหล็กกล้า    อะลูมิเนียม  โดยให้วัตถุดังกล่าวเคลื่อนที่ผ่าน
สารกัมมันตรังสี แล้วใช้เครื่องวัดรังสีตรวจสอบ  จากปริมาณรังสีที่ทะลุผ่านมายังเครื่องจะทำให้ทราบว่า
ความหนาสม่ำเสมอหรือไม่
          - การผลิตสีสะท้อนแสง  ในอุตสาหกรรมเสื้อผ้า  เครื่องยนต์   ทำเป็นตัวเลขหน้าปัดนาฬิกา    เป็นต้น -  การตรวจสอบควันไฟเพื่อป้องกัน
ไฟไหม้


ทางทหาร
          - ใช้  เรเดียม   Ra ,  ยูเรเนียม  U-235,238   ทำอาวุธนิวเคลียร์
          - ใช้ ยูเรเนียม  U  เป็นเชื้อเพลิงในเรือรบ  เรือดำน้ำ


ทางโบราณคดี
          - ใช้    C-14  หาอายุวัตถุโบราณ  หรืออาจใช้      K-48 ,  Ru - 87


อันตรายจากกัมมันตรังสี
          - อันตรายโดยตรงต่อชีวิต  หากร่างกายได้รับรังสีแกรมมาโดยตรง  สามารถทำให้เซลล์ตายได้  หรือหากได้รับปริมาณมาก ๆ อาจเสียชีวิตได้
          -  อันตรายต่อเนื้อเยื่อสมองและอวัยวะสืบพันธุ์   รังสีแกรมมาจะทำให้โครโมโซมของเซลล์สืบพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงแบบชั่วคราวหรือ
ถาวร  อาจเป็นผลทำให้ดีขึ้นหรือกลายพันธุ์ก็ได้
          -  อันตรายแบบสะสม หากได้รับปริมาณน้อย ๆ เป็นเวลานาน ๆ อาจทำให้กลายเป็นมะเร็ง
การป้องกันอันตรายจากกัมมันตรังสี 
          - หากจำเป็นต้องเข้าใกล้สารกัมมันตรังสีต้องใช้เวลาสั้นที่สุด
          -  อยู่ห่างบริเวณที่เป็นแหล่งกำเนิดกัมมันตรังสีให้มากที่สุด
          -  ใช้วัตถุที่กัมมันตรังสีทะลุผ่านไม่ได้มากำบัง  เช่น  ตะกั่ว หรือคอน  เป็นเครื่องกำบังรังสีแกรมมาและบีตา  หรือน้ำเป็นเครื่องกำบังรังสี
นิวตรอน
          -  ผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับรังสีต้องมีเครื่องตรวจวัดรังสี  ใช้หุ่นยนต์ในการทำงานแทนมนุษย์  ใช้ระบบรีโมตหรือระบบอิเล็กทรอนิกแทน
การเข้าใกล้


****************************************************************
ตอน2
ฝุ่นรังสีนิวเคลียร์
อันตรายจากการเปรอะเปื้อนสารกัมมันตรังสี จากระเบิดนิวเคลียร์ ในรูปแบบของฝุ่นกัมมันตรังสี (radioactive fallout) และกัมมันตภาพรังสี ที่
เกิดจากนิวตรอนจากการระเบิดทำปฏิกิริยากับวัตถุ ทำให้มีรังสีสูงขึ้นในรูปของ
ผลผลิตของปฏิกิริยาฟิชชัน (Fission Products) เมื่อนิวเคลียสของธาตุที่มีขนาดใหญ่ เช่น ยูเรเนียมหรือพลูโตเนียม แตกออกโดยปฏิกิริยาฟิชชัน
กลายเป็นไอโซโทป ของธาตุขนาดกลาง มีโอกาสที่จะกลายเป็นไอโซโทปรังสี ในรูปของผลผลิตฟิชชัน
(fission products) ได้มากกว่า 300 ชนิด สารกัมมันตรังสีเหล่านี้ มีครึ่งชีวิตแตกต่างกันไปหลายระดับ บางส่วนมีครึ่งชีวิตสั้นมาก ไม่ถึงวินาที
บางส่วนมีครึ่งชีวิตยาวเป็นเดือน หรือเป็นปี ซึ่งสามารถทำให้เกิดอันตรายได้ การสลายตัวของสาร
กัมมันตรังสีเหล่านี้ ส่วนใหญ่ให้รังสีบีตา (beta) และรังสีแกมมา (gamma) ออกมา ระเบิดขนาด 1 กิโลตัน จะให้ผลผลิตฟิชชันประมาณ 60 กรัม
หลังจากการระเบิด 1 นาที ผลผลิตฟิชชันขนาดนี้จะมีกัมมันตภาพประมาณ 1.1 x 1021 Bq
วัสดุนิวเคลียร์ที่ไม่เกิดปฏิกิริยาฟิชชัน วัสดุนิวเคลียร์ เช่น ยูเรเนียมและพลูโตเนียม ในระบิดนิวเคลียร์จะไม่เกิดปฏิกิริยาฟิชชันทั้งหมด ส่วน
ใหญ่จะยังอยู่แต่จะกระจายออกไปโดยแรงระเบิด ซึ่งจะค่อยสลายตัวโดยให้รังสีอัลฟา (alpha) ออกมา ซึ่งมี
กัมมันตภาพรังสีต่ำจนไม่มีความสำคัญมากนัก
กัมมันตภาพรังสีที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยนิวตรอน (Neutron-Induced Activity) ถ้าวัตถุได้รับรังสีนิวตรอน ทำให้นิวเคลียสของอะตอมจับนิวตรอน
จะทำให้กลายเป็นสารกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายตัวโดยการให้รังสีบีตาหรือรังสีแกมมาออกมา นิวตรอนที่
เกิดขึ้นในขณะที่ระเบิดจะทำปฏิกิริยา ทำให้ชิ้นส่วนของอาวุธกลายเป็นสารกัมมันตรังสี รวมทั้งวัตถุที่อยู่ในบริเวณโดยรอบ เช่น ดิน อากาศ น้ำ
อาจจะทำปฏิกิริยากับนิวตรอนไปด้วย ซึ่งขึ้นกับระดับความสูงที่เกิดการระเบิด ตัวอย่างเช่น การระเบิด
ที่พื้นดิน จะทำให้แร่ธาตุต่างๆ ในดินได้รับนิวตรอน เช่น โซเดียม แมงกานีส อลูมิเนียม และซิลิกอน แต่จะมีอันตรายไม่มากนักถ้าเกิดใน
พื้นที่จำกัด


ถ้าเกิดการระเบิดเหนือผิวดิน หรือผิวน้ำ ความร้อนจากลูกไฟของการระเบิด จะทำให้วัตถุถูกทำให้กลายเป็นไอ ลอยขึ้นไปเป็นกลุ่มเมฆ
กัมมันตรังสี วัตถุเหล่านี้จะรวมเข้ากับผลผลิตฟิชชันและวัสดุอื่น ที่กลายเป็นสารกัมมันตรังสี จากการทำปฏิกิริยา
กับนิวตรอน อนภาคที่มีขนาดใหญ่จะตกลงสู่พื้นโลกก่อน ภายใน 24 ชั่วโมง โดยขึ้นกับกระแสลมและสภาพอากาศ ส่วนอนุภาคขนาดเล็กจะ
ลอยขึ้นที่บรรยากาศชั้น stratosphere และกระจายออกไปไกล โดยอาจจะใช้เวลาเป็นสัปดาห์หรือเป็น
เดือนก่อนจะตกลงมา
การเปรอะเปื้อนฝุ่นกัมมันตรังสีอาจจะกระจายไปเป็นบริเวณกว้าง ขึ้นกับแรงของคลื่นกระแทกหรือความร้อน โดยเฉพาะกรณีที่ระเบิดขนาด
ใหญ่เหนือพื้นดิน ส่วนการระเบิดเหนือพื้นน้ำ จะทำให้เกิดอนุภาคที่เล็กและเบากว่า ทำให้เกิดฝุ่น
กัมมันตรังสีน้อยกว่า แต่กินพื้นที่ในบริเวณที่กว้างกว่า อนุภาคส่วนใหญ่จะเป็นน้ำทะเลซึ่งประกอบด้วยน้ำและเกลือ ซึ่งจะทำให้กลายเป็นฝน
ของกัมมันตภาพรังสีตกลงมา
อันตรายจากรังสีของฝุ่นกัมมันตรังสีที่มีผลกระทบไปทั่วโลก ที่สำคัญเกิดจากไอโซโทปรังสีที่มีอายุยาว เช่น สตรอนเชียม-90 (strontium-90)
และซีเซียม-137 (caesium-137) ซึ่งสามารถเข้าไปในร่างกายได้จากการกินอาหารที่มีสารกัมมันตรังสีเหล่า
นี้เข้าไป แต่เมื่อเทียบกันแล้วอันตรายจากฝุ่นรังสีที่กระจายไปทั่วโลก น้อยกว่าอันตรายจากฝุ่นรังสีที่ตกลงใกล้กับจุดระเบิดมาก
จำนวนผู้ที่บาดเจ็บจากคลื่นกระแทกและความร้อน มีมากกว่าจำนวนผู้ที่บาดเจ็บจากรังสี แต่เนื่องจากผลของรังสีทำให้เกิดผลที่ซับซ้อนกว่า จึง
เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดเข้าใจผิดถึงผลกระทบหลักที่เกิดขึ้น การฉายรังสีให้กับสัตว์ทดลองอาจจะทำให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีววิทยา โดยอาจจะทำให้ตายทันที ถ้าได้รับรังสีปริมาณมากทั่วทั้งตัว หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงในภายหลังเนื่องจาก
ผลของรังสี ในบางคนที่ได้รับรังสีเป็นเวลานาน



 นักฟิสิกส์ เตือนคนไทยอย่าตื่นสารกัมมันตภาพรังสี  http://www.se-edlearning.com/news/view.php?Content_ID=686
คนไทยอย่าได้วิตกมากเกินเหตุ กับการแพร่กระจายของฝุ่นกัมมันตภาพรังสีในอากาศหรือที่ปนเปื้อนมากับอาหารที่นำเข้าจากญี่ปุ่น เนื่องจาก
ไทยมีความพร้อมและระบบในการตรวจวัดสารกัมมันตภาพรังสีที่ปนเปื้อนมาในอาหารหรือในอากาศที่
ได้รับการยอมจากสากล ซึ่งสามารถสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนคนไทยว่า มีความปลอดภัยและจะไม่ได้รับอันตรายจากสารกัมมันตภาพ
รังสีในครั้งนี้” รองศาสตราจารย์ ดร.ธวัชกล่าว
สนง.ปรมาณูเพื่อสันติ เผยฝุ่นกัมมันตรังสีไม่กระทบไทย   http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/life/20110314/381866/
%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%87.%E0%B8%9B
%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%9E
%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B4
-
 %E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%A2%E0%B8%9D

%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0
%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA
 %E0%B8%B5%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%9A
%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2.html
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
สนง.ปรมาณูเพื่อสันติ เผยฝุ่นกัมมันตรังสีไม่กระทบไทย
 สำนักงานปรมาณูฯ แจงติดตามสถานการณ์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ญี่ปุ่นระเบิด ระบุอนุภาคกัมมันตรังสีพัดพาในมหาสมุทรแปซิฟิก ยันไทยไม่
กระทบ
ศ.ดร.ชัยวัฒน์ ต่อสกุลแก้ว เลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) รายงานสถานการณ์เกิดเหตุฉุกเฉินนิวเคลียร์ที่ประเทศญี่ปุ่นว่า ประเทศ
ไทยเป็นหนึ่งในสมาชิกทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ(ไอเออีเอ) จึงได้รับรายงาน
สถานการณ์ความคืบหน้าอย่างใกล้ชิด เพื่อเฝ้าระวังและเตรียมการรับมือตลอด 24 ชั่วโมง ทั้งทางโทรศัพท์ แฟกซ์และอินเทอร์เน็ต โดยข้อมูลที่
ได้รับจะผ่านการตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำขึ้นเว็บไซต์ www.oaep.go.th
รายงานล่าสุดจากไอเออีเอ ถึงสถานการณ์การฟุ้งกระจายของสารกัมมันตรังสี โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ RSMC Obninsk พบการเคลื่อนที่
ของวัสดุกัมมันตรังสีไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น ลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิก ดังนั้น โอกาสจะ
พัดมายังประเทศไทยอยู่ในระดับน้อยมาก
อีกทั้งประเทศไทยมีสถานีเฝ้าระวังภัยทางรังสี  8 สถานี ที่จังหวัดเชียงใหม่ ขอนแก่น กรุงเทพฯ พะเยา อุบลราชธานี ตราด ระนอง และสงขลา
ทำหน้าที่วัดระดับรังสีในธรรมชาติ ณ บริเวณนั้น และส่งข้อมูลตรงเข้าโทรศัพท์มือถือของผู้รับผิดชอบ
จึงเชื่อมั่นว่าจะสามารถเตือนภัยได้ทันทีหากตรวจพบระดับรังสีสูงเกินปกติ แต่หากพบปริมาณรังสีสูงขึ้น เจ้าหน้าที่จำเป็นต้องยืนยันโดยการ
เก็บตัวอย่าง น้ำ ดิน ฝุ่น ดูต้นกำเนิดของรังสี ณ ปัจจุบันระดับรังสีอยู่ในสภาวะปกติเหมือนก่อนเกิด
เหตุการณ์ อยู่ที่ 50 นาโนซีเวิร์ท ระดับที่เตือนภัย 200 นาโนซีเวิร์ท จึงยังเป็นระดับต่ำมาก
เลขาธิการ ปส. ระบุว่า หากได้รับรังสีจากการหายใจ การกินอาหารที่ปนเปื้อนรังสี หลักการโดยทั่วไป คือให้ผู้ที่มีปริมาณรังสีมากเกินกว่าปกติ
ในกรณีของประเทศญี่ปุ่นเข้าหน้าที่ได้ให้ผู้อพยพกินไอโอดีนเสถียร ที่ไม่ใช่กัมมันตรังสี เพื่อให้ไป
สะสมที่ไทรอยด์ ในกรณีที่ได้รับกัมมันรังสีไอโอดีน 131 หลังจากสุ่มตรวจพบการปนเปื้อนรังสีของประชาชนในศูนย์อพยอยู่ที่ 9-10% ซึ่งนำ
เข้าสู่กระบวนการชำระล้าง เพื่อป้องกันรังสีสะสมทำลายเซลล์ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
ก่อให้เกิดมะเร็งในอนาคต
"สำหรับประเทศไทยปัจจุบันมีปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อการวิจัยขนาด 1.8 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ที่สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ บางเขน ซึ่งได้ออกแบบให้
รองรับแผ่นดินไหวจากรอยเลื่อนกาญจนบุรี ในระดับสูงสุดที่รับได้คือ 7 ริกเตอร์ แรงสั่นสะเทือน 0.27 จี
ซึ่งที่ผ่านมายังไม่เคยเกิดปัญหา”
และยืนยันว่า ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน ปส. ได้เตรียมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ไว้รองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินนิวเคลียร์และรังสี ที่
ทำงานร่วมกัยกับหน่วยงานภาครัฐ พร้อมศูนย์ฉุกเฉินทางรังสี 24 ชั่วโมง ที่หมายเลข 089-200-6243 , 02-
596-7699
ส่วนสถานการณ์แผ่นดินไหวหรืออาฟเตอร์ช็อก เมื่อวันที่ 14 มีนาคม ส่งผลกระทบต่อโรงงานผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ 5 บริเวณ ซึ่ง
เป็นสถานที่ตั้งโรงไฟฟ้า 17 แห่ง บนเกาะฮอนชู และฮอกไกโด ขณะเกิดเหตุมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 13 แห่ง
ที่กำลังเดินเครื่องอยู่ และ อีก 4 แห่งอยู่ระหว่างบำรุงรักษา
เลขาธิการ ปส. ยืนยันว่า ขณะเกิดแผ่นดินไหวการทำงานของระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงนิวเคลียร์หยุดทำงานโดยอัตโนมัติ กระทั่งพบว่า
โรงไฟฟ้าที่ 1, 2 และ 3 ของโรงไฟฟ้าฟูคุชิมา-ไดอิชิ มีระดับรังสีสูงกว่าปกติ ทำให้รัฐบาลญี่ปุ่นต้อง
ประกาศภาวะฉุกเฉินทางนิวเคลียร์ ตามมาตรการทางกฎหมายนิวเคลียร์ของญี่ปุ่น และอพยพประชาชนออกจากพื้นที่ในระยะ 3 กิโลเมตร
ส่วนประชาชนที่อยู่โดยรอบโรงไฟฟ้า 10 กิโลเมตรให้หลบอยู่ในที่พักอาศัยเพื่อป้องกันอันตรายจากรังสี
ส่วนการระเบิดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ 1 จะได้รับการยืนยันจากไอเออีเอว่า เกิดจากแก๊สไฮโดรเจนที่สะสม จนเกิดระเบิดขึ้นมาภายนอกอาคารคุม
เครื่องปฏิกรณ์ ทำให้ระดับรังสีโดยรอบสูงขึ้น และเจ้าหน้าที่ได้แก้ไขโดยใช้น้ำทะเลหล่อเย็น ร่วมกับ
โบรอนเติมเข้าไปในคอนเทนเนอร์ อีกทั้งโรงไฟฟ้าที่เกิดการระเบิดยังคงมีระดับน้ำหล่อเย็นอยู่สูงเหนือแท่งเชื้อเพลิง 170 เซนติเมตร สำหรับ
โรงที่ 1 และ 355 เซนติเมตร สำหรับโรงที่ 2 และโรงที่ 3 ซึ่งเกิดการระเบิดล่าสุด ยังคงมีน้ำหล่อเย็น 135
เซนติเมตร มีการฉีดน้ำทะเลและโบรอนอย่างต่อเนื่อง
"ไอเออีเอมั่นใจว่า วิธีแก้ปัญหาดังกล่าวจะทำให้การระบายความร้อนของแท่งเชื้อเพลิงในเตาปฏิกรณ์ยังดำเนินการต่อไปได้"
เลขาธิการ ปส.กล่าวอีกว่า ขณะที่ระดับรังสีที่จุดเกิดเหตุลดลงจาก 1,015 ไมโครซีเวิร์ทต่อชั่วโมง เหลือ 40 ไมโครไมโครซีเวิร์ทต่อชั่วโมง โดย
เหตุระเบิดที่เกิดภายนอกอาคาร ไม่ส่งผลต่อแท่งเชื้อเพลิง และยืนยันว่าไม่มีการพังทลายของเชื้อเพลิง
นิวเคลียร์ และอาคารที่สร้างคุมแกนปฏิกรณ์ชั้นใน
ทั้งนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นยังคงเฝ้าระวังเป็นพิเศษกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง หลังจากพบว่าประมาณรังสีเพิ่มขึ้น ตลอดจนได้ส่ง
เคเบิลคาร์ และแบตเตอร์รี่คาร์ เพื่อแก้ไขและควบคุมสถานการณ์อย่างใกล้ชิดซึ่งยังคงต้องติดตามอย่าง
ใกล้ชิดต่อไป
"เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นชี้ถึงบทเรียนในเรื่องความปลอดภัยจากเหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นกับระบบจ่ายไฟฟ้าขัดข้อง ญี่ปุ่นเองอาจต้องมองถึงการ
ออกแบบท่อส่งแก๊ส รวมถึงออกแบบสร้างอาคารใหม่เพื่อรับมือกับภัยพิบัติซึ่งต้องมองล่วงหน้าระยะ
ยาวกว่า 100 ปี"
เลขาธิการสำนักงานปรมณูเพื่อสันติ กล่าวว่า อย่างไรก็ตามญี่ปุ่นสามารถควบคุมสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้แม้จะเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว
รุนแรงและมีอาฟเตอร์ช็อคตามมาอีกหลายครั้ง


http://www.fufu.us/face/space.php?uid=463&do=blog&id=410
กองทัพสหรัฐฯนำอาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดเล็กที่สุดหรือ หัวกระสุนเดวีคร็อกเก็ตต์ ออกมาแสดงให้ดู แม้ว่ากองทัพของอเมริกาจะเคยใช้หัวรบ
นี้ที่ทวีปยุโรปช่วงปี 1961 (2504) ถึง 1971 ระหว่างสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต แต่ระเบิดนี้ "ไม่เคย"
ใช้ในสมรภูมิรบ
อย่างไรก็ตามอาวุธนี้เคยใช้ยิงถล่มกันในภาพยนตร์เรื่องคิงคองปะทะกอริลลาเมื่อปี 1962

ยุคแห่งความไร้เดียงสา


   ภาพถ่าย โดย U.S. Air Force
ปี 1951แขกของกองทัพสหรัฐนั่งใส่แว่นตากันลมสีเข้มเพื่อเป็นสักขีพยานในการระเบิดนิวเคลียร์ที่หมู่เกาะปะการังเอเนวีทอคในมหาสมุทร
แปซิฟิก การทดสอบครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการกรีนเฮ้าส์ ซึ่งผลของการทดลองทำให้เกิดการแพร่
กระจายของฝุ่นกัมมันตรังสี ซึ่งเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้สังเกตการและเจ้าหน้าที่ผู้ทำการทดสอบ การสัมผัสกับกัมมันตรังสีที่เกิดจากการทดสอบ
ระเบิดนิวเคลียร์ในสหรัฐฯเพียงแห่งเดียวอาจทำให้ประชากรประมาณ 11.000 คนเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง
อ้างจากการศึกษาของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคของรัฐบาลสหรัฐฯ ผลการศึกษารายงานว่า “ผู้ใดก็ตามที่อาศัยอยู่ในสหรัฐฯตั้งแต่ปี 1951 จะ
ถูกปนเปื้อนด้วยกัมมันตรังสี”


ปัจจุบันนี้มี 8 ประเทศที่โอ้อวดคลังแสงนิวเคลียร์อย่างเปิดเผย ในขณะที่อีกราว 20 ประเทศครอบครองเทคโนโลยีและวัตถุดิบเพียงพอที่จะ
ผลิตอาวุธนิวเคลียร์ได้ภายในหนึ่งปี แต่ชาติเหล่านี้เป็นเพียงเสี้ยวหนึ่งของภาพทั้งหมด การล่มสลายของ
สหภาพโซเวียตทำให้อาวุธนิวเคลียร์ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องจำนวนมากเสี่ยงต่อการถูกโจรกรรมหรือลักลอบขายแก่บุคคลนอกรัฐบาล
ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มผู้ก่อการร้ายหรือเครือข่ายอาชญากร นับตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษ 1990 อุซามะห์ บิน ลา
ดิน และสาวกใฝ่ฝันว่าจะได้ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ เพื่อโจมตีสหรัฐฯ ให้ย่อยยับ ไม่มีใครทราบว่าผู้ก่อการร้ายมีอาวุธปนเปื้อนกัมมันตรังสี
หรืออาวุธนิวเคลียร์ในครอบครองแล้วหรือไม่
http://www.nst.or.th/article/article0129.htm
ในปี 1965 เวลา 10:58 น. ได้มีการทดลองจรวดที่ใช้เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ ที่รัฐเนวาดา สหรัฐอเมริกา ทำให้เกิดกลุ่มเมฆกัมมันตรังสีปกคลุมเหนือ
ลอสแองเจลิส
http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/atomic-bomb/index10.htm
ก.ค. 1946 สหรัฐอเมริกาตรากฎหมายพลังงานปรมาณู (Atomic Energy Act : AEA) และจัดตั้งคณะกรรมาธิการพลังงานปรมาณู (Atomic
Energy Commission : AEC ) ขึ้น
ธ.ค. 1946 โครงการแมนฮัตตันถูกยกเลิก ปฏิบัติการต่อไปนับจากนี้ ดำเนินการโดยคณะกรรมาธิการพลังงานปรมาณู การวิจัยและพัฒนาด้าน
นิวเคลียร์ดำเนินการภายใต้การควบคุมของฝ่ายพลเรือน
- เม.ย.-พ.ค. 1948 สหรัฐอเมริกาทำการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำในมหาสมุทรแปซิฟิก (ปฏิบัติการหินทราย : Operation Sandstone) ถึง
ขณะนี้ สหรัฐอเมริกามีระเบิดนิวเคลียร์ในครอบครองจำนวน 50 ลูก
- เม.ย. 1949 สหภาพโซเวียตสามารถประดิษฐ์ระเบิดนิวเคลียร์ได้สำเร็จ
- ม.ค. 1950 ประธานาธิบดีทรูแมน (President Truman) สั่งให้คณะกรรมธิการพลังงานปรมาณูดำเนินงานวิจัยและพัฒนาระเบิดไฮโดรเจน (H-
bomb)
- ก.พ. 1950 วุฒิสมาชิก โจเซฟ แม็คคาร์ธี (Joseph McCarthy) ประกาศสงครามทางลัทธิกับฝ่ายคอมมิวนิสต์
- มิ.ย. 1950 เกิดสงครามเกาหลี
- ธ.ค. 1951 อุปกรณ์สำคัญทางอิเล็กทรอนิคสำหรับระเบิดนิวเคลียร์แบบกระจายตัว ได้รับการประดิษฐ์ขึ้นที่สถานีปฏิกรณ์แห่งชาติ (National
Reactor Station) มลรัฐไอดาโฮ [สถานีฯ แห่งนี้ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นห้องปฏิบัติการด้านวิศวกรรมแห่งชาติ
(National Engineering Laboratory)]
- ต.ค. 1952 สหรัฐอเมริกาสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดใหญ่ที่มลรัฐเซาธ์คาโรไลนา (South Carolina)
- ธ.ค. 1953 ประธานาธิบดีไอเซนเฮาร์ (President Eisenhower) ประกาศจะร่วมมือกับนานาประเทศในการนำ ความรู้และเทคโนโลยีด้านพลัง
งานนิวคลียร์ไปใช้ทางสันติ
ม.ค. 1954 (2497) เรือดำน้ำยูเอสเอสนอติลุส (U.S.S. Nautilus) เรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ลำแรกของสหรัฐอเมริกา ออกปฏิบัติการเป็นครั้งแรก
จอห์น ดูลส์ (John Dulles) รัฐมนตรีกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกาประกาศนโยบายตอบโต้อย่างรุนแรงต่อ
ปฏิบัติการก้าวร้าวใด ๆ ก็ตามของฝ่ายคอมมิวนิสต์
- ส.ค. 1954 สหรัฐอเมริกาตรากฎหมายสนับสนุนให้มีการใช้พลังงานนิวเคลียร์ทางสันติ
- ก.ค. 1955 มีการนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ทางสันติในมลรัฐไอดาโฮเป็นแห่งแรก
     เมื่อความลับเกี่ยวกับปฎิกิริยานิวเคลียร์ได้ถูกค้นพบ นักวิทยาศาสตร์ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้พยายาม หาทางที่จะนำเอาพลังงานมหาศาลนี้มา
ใช้เป็นอาวุธ โครงการแมนฮัตตันจึงได้อุบัติขึ้น เพื่อพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์ ควบคู่ไปกับอาวุธมหาประลัย
เพื่อทดลองกับชีวิตจริงๆ
       ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมที่เป็นรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎี อะตอมของดาลตัน ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 โดยได้กล่าวไว้แต่เพียงว่า อะตอมคือ
หน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร สส่วนอะตอมเป็นอย่างไรนั้นได้มีผู้ทดลองและตั้งทฤษฎีในอตนปลายคริสต์ศ๖
วรรษที่ 19 โดยในปี          ค.ศ. 1897   เจ.เจ. ทอมป์สัน          นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ    ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอม
ได้เป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอ
ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด  
และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม
จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่อง
ที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออก
มาได้โดยวิธีใด
                    ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลอง
ของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือน
กับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง


ความเสี่ยงภัยจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย   http://www.paipibut.org/view.php?dataid=5
ประชาชนส่วนใหญ่ยังเชื่อว่าประเทศไทยตั้งอยู่บริเสณที่ปลอดภัยจากแผ่นดินไหวและเชื่อว่าแผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้นในอดีตนั้นมีขนาดไม่
รุนแรงไม่เป็นอันตรายต่ออาคารสิ่งก่อสร้างและชีวิตของประชาชนบางครั้งอาจทำให้ผู้คนตกใจบ้างแต่ก็ไม่
เป็นอันตรายซึ่งไม่น่าที่จะต้องมีมาตราใดๆสำหรับป้องกันและรับมือต่อภัยแผ่นดินไหวความเชื่อนี้มาจากความจริงที่ว่าในอดีตที่ผ่านมา
ประเทศไม่มีประวัติการเกิดแผ่นดินไหวที่ก่อให้เกิดความรุนแรงรวมทั้งการตรวจแผ่นดินไหวยังไม่ครอบคลุม
และละเอียดเพียงพออีกทั้งยังไม่มีการศึกษาอย่างจริงจังถึงแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหว
อย่างไรก็ดี ในช่วงสิบปีที่ผ่านมา การศึกษาวิจัยด้านแผ่น
ดินไหวในประเทศไทยได้ก้าวหน้าขึ้นมากมีการรวบรวมข้อมูลแผ่นดินไหวอย่างเป็นระบบและมีเครือข่าย
สถานีตรวจแผ่นดินไหวมากขึ้น ทำให้สามารถตรวจจับการเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กและขนาดกลางได้จำนวนมากในภาคเหนือและภาค
ตะวันตกของประเทศ รวมทั้งนักวิชาการจากหลายสถาบันได้ทำการวิเคราะห์และสร้างแผนที่ความเสี่ยงภัยขึ้น
มาหลายชุดผลการวิเคราะห์บ่งชี้ว่า บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันตกมิได้ปลอดภัยจากภัยแผ่นดินไหว แต่มีความเสี่ยงอยู่ในระดับปานกลาง
หลักฐานชิ้นสำคัญที่แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีความเสี่ยง คือ แผ่นดินไหวที่ อ.พาน จ.เชียงราย เมื่อ ๑๑ กันยายน ๒๕๓๗ มีขนาดความแรง
๕.๑ ริคเตอร์ จัดได้ว่าเป็นแผ่นดินไหวขนาดกลาง ซึ่งแผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดห่างจากตัว อ.พาน ประมาณ
๑๕ กิเมตร ก่อให้เกิดความเสียหายค่อยข้างรุนแรงต่อโครงสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั้น ของโรงพยาบาลพาน นอกจากนั้นยังมีอาคาร
เรียนและอาคารพานิชย์แตกร้าว อาคารเรียนหลายแห่งต้องย้ายนักเรียนหลายห้องออกมาเรียนในเต็นท์
ชั่วคราวเพื่อความปลอดภัย โดยโรงเรียนมากกว่า ๒o หลัง และวัดอีกว่า ๓o แห่ง มีความเสียหายเล็กน้อยถึงปานกลาง
แผ่นดินไหวที่ อ.พานนี้ มิได้รุงแรงที่สุดจากที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทยซึ่งข้อมูลในอดีตพบว่าในปี ๒๕๒๖ ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาดความแรง
๕.๓ และ ๕.๙ ริคเตอร์ เมื่อ ๑๕ และ ๒๒ เมษายน ที่ จ.กาญจนบุรี มาแล้วโดยมีศูนย์กลางบริเวณอ่าง
เก็บน้ำเหนือเขื่อนศรีนครินทร์ ประมาณ ๕๕ กิโลเมตร ระดับความรุนแรงก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ผู้ที่อยู่อาศัยอยู่บริเวณภาคตะวันตก
ภาคกลาง และภาคเหนือของประเทศ รวมถงกรุงเทพมหานครซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ ๒oo กิโลเมตร
เกิดความเสียหายเล็กน้อยแก่อาคารในกรุงเทพมหานคร
แผ่นดินไหวที่มีอานุภาพรุนแรงถึงขั้นที่สามารถทำลายอาคารบ้านเรือนได้ เคยเกิดขึ้นในประเทศไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า ๔ครั้ง ในบรเวณภาค
เหนือและภาคตะวันตก แต่โชคดีที่แผ่นดินไหวเหล่านี้มีศุนย์กลางอยู่ไกลจากแหล่งชุมชน จึงไม่มีอาคาร
บ้านเรือนอยู่ในรัศมีการทำลายและการสูญเสียชีวิตของประชาชน ความไม่พร้อมในการเตรียมรับมือกับภัยพิบัติของเราที่สำคัญ คือ เรายังขาด
แคลนการสนับสนุนด้านงบประมาณและบุคลากร เช่น กรมทรัพยากรธรณ๊ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการ
สำรวจรอยเลื่อน กรมอุตุนิยมวิทยาขาดผู้เชี่ยวชาญที่จะนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาความเสี่ยงภัยและจัดทำแผนที่เสี่ยงภัย หรือกรมโยธาธิการขาดผู้
เชี่ยวชาญที่สามารถสร้างมาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานแรงแผ่นดินไหวให้เหมาะสมกับสภาพ
ท้องถิ่น
การเกิดคลื่นสึนามิเนื่องจากแผ่นดินไหวสำคัญของโลก
พ.ศ.๒๔๗๒ ที่แกรนแบงค์ ประเทศแคนาดา จากการเกิดแผ่นดินไหว ๗.๒ ริคเตอร์ ความเสียหาย ๔oo, ooo เหรียญสหรัฐ
พ.ศ.๒๔๘๙ ที่อลาสกา จากการเกิดแผ่นดินไหว ๗.๘ ริคเตอร์ความเสียหาย ๒๔ ล้านเหรียญสหรัฐ
พ.ศ.๒๔๙๕ ที่รัสเซีย จากการเกิดแผ่นดินไหว ๘.๒ ริคเตอร์ ความเสียหาย ๑ ล้านเหรียญสหรัส
พ.ศ.๒๔oo ที่อลาสกา จากการเกิดแผ่นดินไหว ๘.๓  ริคเตอร์ความเสียหาย ๕ ล้านเหรียญสหรัฐ 
พ.ศ. ๒๕oo ที่ประเทศชิลี จากการเกิดแผ่นดินไหว ๙.๖ ริคเตอร์ความเสียหาย ๑ ล้านเหรียญสหรัฐ 
พ.ศ.๒๕o๗ ที่อลาสกา จากการเกิดแผ่นดินไหว ๘.๔  ริคเตอร์ความเสียหาย ๑o๖ ล้านเหรียญสหรัฐ
พ.ศ.๒๕๔๖ ที่เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย จากการเกิดแผ่นดินไหว ๗.๙  ริคเตอร์ความหลายพันล้านเหรียญสหรัฐ มีผู้เสียชีวิตมากกว่า ๒๘o, ooo
คน
เหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งสำคัญของประเทศไทย 
พ.ศ.๑oo๓ แผ่นดินไหวไม่ทราบความรุนแรง ที่นครโยนก (อำเภอพาน)แผ่นดินยุบที่ อ.เมืองพะเยา เมื่อวันเสาร์ แรม ๗ ค่ำ เดือน ๗
๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๘ แผ่นดินไหว ๕.๖ ริคเตอร์ ที่ จ.ตาก
๒๒ เมษายน ๒๕๒๖ แผ่นดินไหว ๕.๙ ริคเตอร์ ที่ จ.กาญจนบุรี
๑๑ กันยายน ๒๕๓๗ แผ่นดินไหว ๕.๑ ที่ จ.เชียงราย


http://www.212cafe.com/freewebboard/view.php?user=aussy&id=51
ในราว ๆ ปี ค.ศ.1949 ขณะนั้นประเทศจีนได้เกิดการแบ่งฝ่ายออกเป็น 2 ฝ่าย คือฝ่ายประชาธิปไตย
ซึ่งเป็นรัฐบาลจีนขณะนั้น ภายใต้การนำของนายพล เจียงไคเช็ค พรรคก๊กมินตั๋ง
และอีกฝ่ายหนึ่งก็คือฝ่ายคอมมิวนิสต์ ภายใต้การนำของ เหมาเจ๋อตง ทั้งสองฝ่ายต่างมีกำลังทหารของตนเอง
และสู้รบกันเพื่อแย่งชิงประชาชนและอำนาจการปกครองประเทศจีน ฝ่ายของนายพลเจียงไคเช็ค
มีกำลังทหารส่วนหนึ่งเรียกว่ากองพลหน่วยที่ 93 ได้ปฏิบัติการอยู่แถบคุนหมิง มณฑลยูนาน
ทั้งสองฝ่ายต่างรบสู้กันอย่างดุเดือด และในที่สุดฝ่ายคอมมิวนิสต์ภายใต้การนำของเหมาเจ๋อตง ก็เป็นผู้ชนะ
พรรคก๊กมินตั๋งจึงได้ถอยหนีไปอยู่เกาะไต้หวัน
และนายพลเจียงไคเช็คก็ได้เป็นประธานาธิบดีของไต้หวันในเวลาต่อมา
กองพลที่ 93 อพยบติดตามไปไต้หวันไม่ทัน หรือโดนเจียงไคเช็คทิ้งก็ไม่อาจทราบได้
จึงตั้งกองกำลังอยู่ที่ยูนาน จากนั้นก็ถูกกองทัพจีนคอมมิวนิสต์คุกคามอย่างหนัก
จึงต้องสู้ไปพลางถอยไปพลาง สุดท้ายก็ถอยไปเข้าเขตของพม่าตอนบน
พม่าก็ไม่ยอมเพราะถือว่าเป็นการรุกล้ำอธิปไตยจึงส่งกำลังมาต่อสู้เพื่อพลักดันให้ออกจากพม่า
สู้หลายครั้งแม้ว่าพม่าจะเป็นฝ่ายรุก กองพล 93 เป็นฝ่ายถอย แต่สุดท้ายก็พลักดันออกจากพม่าไม่สำเร็จ
เรื่องนี้เกี่ยวข้องกับไทยด้วย เพราะมีกองกำลังบางส่วนที่ถอยเข้ามาในเขตรอยต่อของไทยกับพม่า
เช่นบริเวณดอนตุง ดอยแม่สลอง เป็นต้น
ในที่สุดพม่าก็เรียกร้องให้สหประชาชาติเข้ามาแก้ไขปัญหาดังกล่าว
สหประชาชาติได้เปิดประชุมและได้กำหนดตัวแทน 4 ฝ่าย เพื่อทำการอพยบทหารกองพล 93
และครอบครัวไปที่ประเทศไต้หวัน สำหรับตัวแทนทั้ง 4 ฝ่าย ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ไทย พม่า
และรัฐบาลจีนคณะชาติ ( ไต้หวัน ) สหประชาชาติได้ให้ทำการอพยบกองพล 93 ไปไต้หวัน โดยเริ่มตั้งแต่เดือน
พฤศจิกายน ค.ศ. 1953 ถึง พฤษภาคม ค.ศ.1954 รวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง โดยจำนวนผู้อพยบมีประมาณ 12,000 คน
ซึ่งการอพยบดังกล่าวรัฐบาลไต้หวันได้ส่งเครื่องบินมารับที่ อำเภอท่าฝาง จังหวัดเชียงใหม่
จากนั้นรัฐาลไต้หวันก็ไม่รับผู้อพยบเพิ่มอีก
สำหรับการอพยบของกองกำลังที่ 93 มาจากจีนนั้น
ในเวลาเดียวกันก็มีชาวบ้านที่ไม่ได้เป็นกองทหารอพยบตามมาด้วย
ทั้งนี้เพราะชาวบ้านเหล่านั้นไม่ต้องการอยู่ภายใต้การปกครองของจีนคอมมิวนิสต์
และโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้นำทางทหารของกองพลที่ 93 คือ นายพลหลี่มี่
เป็นที่นับถือของชาวบ้านในเป็นอย่างมาก ดังนั้นกองพล 93 จึงประกอบไปด้วยทหารของกองพลเอง ชาวบ้าน
ชาวไร่ชาวนา และกองกำลังต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายกันไปเพราะถูก คอมมิวนิสต์คุกคาม เข้ามารวมตัวอยู่ด้วยกัน
เช่น นายพลหลี่เหวินฝาน ได้นำกองกำลังอาสาสมัครป้องกันหมู่บ้านเข้ามาร่วมกับนายพลหลี่มี่ด้วย
การอพยบเข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทยนั้น กระจายอยู่ตามแนวชายแดนต่าง ๆ คือ อำเภอแม่อาย อำเภอแม่จัน
อำเภอแม่สรวย อำเภอพาน (จังหวัดเชียงราย) อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
และเทือกเขาบางส่วนในเขตจังหวัดน่าน
ในช่วงที่ไต้หวันทำการอพยพชาวกองพลที่ 93 ไปสู่ประเทศไต้หวันนั้น
ได้มีชาวไร่ชาวนาบางส่วนที่มากับพวกทหารของกองพลที่ 93 ไม่ได้อพยพไปด้วย
กลับตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองไทย ทั้งนี้เพราะหลายคนมีครอบครัวที่นี่ หลายคนเกิดที่นี่
และคิดว่าตนเองแท้จริงไม่ได้เป็นทหารของกองพลที่ 93
การไปไต้หวันเหมือนกับเป็นส่วนเกินและต้องไปเริ่มต้นใหม่ และหลายคนรักที่จะอยู่ประเทศไทย
ช่วงนั้นได้มีขบวนการผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์เริ่มเข้ามาในประเทศไทย
และชาวบ้านเหล่านี้ก็ไม่ชอบคอมมิวนิสต์ ประกอบกับได้รับการฝึกอบรมแบบทหาร
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฝึกตามแบบของโรงเรียนนายร้อยหวังผู่ จึงมีความพร้อมที่จะทำการรบและป้องกันตนเอง
รัฐบาลจอมพลถนอมในขณะนั้น
ได้ทำการติดต่อชาวบ้านเหล่านี้ให้อยู่ที่เมืองไทยเพื่อร่วมกันต่อต้านผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
ซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่เห็นด้วย จึงปักหลักอยู่ต่อที่ประเทศไทย


รัฐบาลไทยได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปเจรจากับไต้หวันเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับชาวจีนอพยพที่ยังเหลืออยู่ในเมืองไท
ย รัฐบาลไต้หวันได้สรุปว่ากลุ่มชาวจีนดังกล่าวให้อยู่ภายใต้การดูแลของรัฐบาลไทย
รัฐบาลไทยจึงได้สั่งให้กลุ่มชาวจีนที่อพยพอาศัยอยู่ในเขตจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย
เพื่อความสะดวกในการควบคุมผู้อพยพ รัฐบาลไทยจึงตั้งให้กองบัญชาการที่ดอยแม่สลอง
กองบัญชาการทหารสูงสุดนำโดย พล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์ เสธฯ บ.ก.ทหารสูงสุด และ พล.ท. เกรียงศักดิ์
ชมะนันท์ รองเสธฯ เป็นผู้ดูแล โดยประสานงานกับผู้ว่าราชการจังหวัด
มีผู้นำที่มีชื่ออยู่สองคน คือนายพลหลี่เหวินฝาน และ พันเอกเฉินโหม่วซิว
ได้เป็นผู้นำของชาวจีนที่เหลืออยู่ในเมืองไทย ขณะนั้นมีการแทรกซึมของคอมมิวนิสต์เป็นอย่างมาก
และเนื่องจากคอมมิวนิสต์ไม่ถูกกับชาวจีนที่อพยพ จึงมักสร้างสถานการณ์ต่าง ๆ นา ๆ
เพื่อโยนความผิดให้กับชาวจีนกลุ่มนี้ เช่น ปล้นสะดม
ฆ่าผู้นำชนกลุ่มน้อยเผ่าม้งที่จงรักภักดีต่อรัฐบาลไทย โดยคนทั่วไปในขณะนั้นรู้จักชาวจีนกลุ่มนี้ในนามของ
กองพลที่ 93 แต่แล้วคนไทยก็รู้ว่าหลงกลพวกคอมมิวนิสต์เมื่อมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้นคือ
หน่วยงานของจังหวัดได้รับการติดต่อขอเข้ามอบตัวจากกลุ่มผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ที่บ้านห้วยกว้าง
ตำบลแซว อำเภอเชียงแสน ทำให้เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2512 นายประหยัด สมานมิตร
ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย พร้อมด้วย พ.ต.อ. ศรีเดช ภูมิประหมัน ผู้กำกับตำรวจภูธรเชียงราย
นายทหารจากกองทัพภาคที่3 และคณะ รวมทั้งสิ้น 8 นาย
ได้เดินทางเพื่อเข้าไปต้อนรับการกลับตัวกลับใจของกลุ่มผู้ก่อการร้ายดังกล่าว การเดินทางไปครั้งนี้
ผู้นำชาวจีนอพยพได้ทำการทักท้วงมิให้คณะของผู้ว่าเข้าไปในเขตของคอมมิวนิสต์ เพราะรู้ว่าเป็นกลลวง
แต่ทางคณะไม่ฟังคำทักท้วงจึงได้เดินทางเข้าไปในบริเวณพื้นที่ที่ ผกค. ตกลงจะทำการมอบตัว
แต่แล้วเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันก็เกิดขึ้น เจ้าหน้าที่ผู้ใหญ่ทั้งคณะถูก ผกค. สังหารเกือบหมด
เหลือรอดมาได้แต่เพียงนายอำเภอเมืองเชียงรายเพียงคนเดียว
เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้รัฐบาลไทยรู้ว่าคอมมิวนิสต์ร้ายแรงเพียงใด
เมื่อเรื่องนี้เกิดขึ้น
ทางกองบัญชาการทหารสูงสุดได้มีคำสั่งให้ชาวจีนอพยพที่เคยได้รับการฝึกแบบทหาร ออกช่วยปราบปราม
โดยเข้าร่วมกับกองกำลังทหารและตำรวจ ซึงการปราบปรามผู้ก่อการร้ายใช้เวลายืดเยื้อ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512
ไปจนถึง พ.ศ.2516 เหตุการณ์ผู้ก่อการร้ายจึงได้สงบลง
เมื่อสิ้นสุดการปราบปรามรัฐบาลไทยก็ได้ให้กองกำลังจีนอพยพจัดตั้งเป็นหมู่บ้านยุทธการ
ได้แก่หมู่บ้านผาตั้ง หมู่บ้านแม่แอบ สำหรับหมู่บ้านแม่สลองเดิมที่เรียกว่าหมู่บ้านหินแตก
และได้เปลี่ยนเป็นหมู่บ้านสันติคีรี โดย พล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์ เป็นผู้กำหนดชื่อหมู่บ้าน
ปี่ พ.ศ. 2524 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
ได้ให้ชาวจีนอพยพจัดตั้งเป็นกองกำลังอาสาสมัครไทย จำนวน 4 กองร้อย ร่วมกับกองกำลังกองทัพภาคที่ 3
เพื่อออกกวาดล้างผู้ก่อการร้ายที่เขาค้อ และที่เขาหญ้า จังหวัดเพชรบูรณ์
ผลการกวาดล้างได้รับชัยชนะตามเป้าหมายที่รัฐบาลไทยกำหนด
ทางรัฐบาลไทยมองเห็นความสำคัญและผลงานที่ได้กระทำต่อบ้านเมืองของกลุ่มชาวจีนอพยพหรือที่รู้จักในนามของกอ
งพล 93 กองบัญชาการทหารสูงสุดจึงตั้งคณะกรรมการเพื่อแปลสัญชาติให้เป็นคนไทย ในพ.ศ. 2514 , 2518 ,
2520 และในปี 2521 จึงเริ่มมีการทำบัตรประชาชน ปี พ.ศ. 2529 กองทัพภาคที่ 3
ได้มอบอำนาจการปกครองหมู่บ้านอดีตทหารจีนบางหมู่บ้านให้กับกระทรวงมหาดไทย ตามนโยบายของรัฐบาล
เช่นหมู่บ้านสันติคีรี ( ดอยแม่สลอง ) เป็นหมู่ที่ 18 ตำบลป่าซาง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย
ลูกหลานกองพล 93
ได้เสียสละเลือดเนื้อเพื่อแผ่นดินไทยในการต่อสู้กับผู้ก่อการร้ายมาไม่น้อย ปัจจุบันทุกอย่างสงบร่มเย็น
ลูกหลานชาวกองพล 93 บางส่วนได้ลงจากที่สูงสู่เมืองใหญ่เพื่อหางานทำ เพื่อหาชีวิตที่ดีกว่าการทำนา ทำไร่
หลายคนมีบัตรประชาชนแล้ว และหลายคนก็ยังรอคอยการมีบัตรประชาชนอยู่
สำหรับคนไทยทั่วไปการทำบัตรประชาชนมักจะเป็นเรื่องธรรมดา แต่สำหรับชาวกองพล 93 แล้ว
การมีบัตรประชาชนเป็นสิ่งมีค่ายิ่งในชีวิตของเขา ลูกหลานกองพล 93
ส่วนหนึ่งลงจากที่สูงมายึดอาชีพมัคคุเทศก์
แม้จะไม่มีบัตรมัคคุเทศก์ที่ถูกต้องแต่เขาก็หาหนทางที่จะทำงานให้ได้ คนที่ดีก็มีมาก
คนที่ไม่ดีก็มีไม่น้อย สำหรับมัคคุเทศก์ที่มีบัตรอนุญาตที่ถูกต้อง
โปรดจงรักษาจรรยาบรรณที่ดีของมัคคุเทศก์ไว้เถิด มิฉะนั้นแล้วจะขายหน้าชาวอรุโณทัยเขา ..... นะ จะ บอก
ให้
หมายเหตุ
หมู่บ้านอรุโณทัย เป็นหมู่บ้านหนึ่งของลูกหลานจีนอพยพ


http://www.oknation.net/blog/chaiphoto/2009/01/07/entry-1
25 พฤษภาคม - สหรัฐอเมริกาทดลองอาวุธปืนใหญ่นิวเคลียร์ที่มลรัฐเนวาดา เป็นการทดลองอาวุธปืนใหญ่นิวเคลียร์เป็นครั้งแรกและเพียงครั้ง
เดียว
29 พฤษภาคม - เซอร์เอ็ดมันด์ ฮิลลารี และ เทนซิง นอร์เกย์ เป็นบุคคลแรกที่พิชิตยอดเขาเอเวอเรสต์
2 มิถุนายน - พิธีราชาภิเษกสมเด็จพระนางเจ้าเอลิซาเบทที่ 2 เป็นพระราชพิธี ที่ออกอากาศทางโทรทัศน์เป็นครั้งแรกในสหราชอาณาจักร
8 มิถุนายน - พายุทอร์นาโดถล่มเมืองฟลินต์ มลรัฐมิชิแกน คร่าชีวิตประชาชน 115 คน และเป็นทอร์นาโดครั้งสุดท้ายที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า
100 คน
18 มิถุนายน - อียิปต์ประกาศตนเป็นสาธารณรัฐและยกเลิกการปกครองระบอบกษัตริย์
18 มิถุนายน - เครื่องบินซี-124 ของสหรัฐอเมริกาตกและระเบิดในบริเวณใกล้เมืองโตเกียวในประเทศญี่ปุ่น ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตทั้งหมด 129
คน
19 มิถุนายน - เอเทลและจูเลียส โรเซนเบิร์ก ถูกประหารชีวิตในข้อหาจารชนให้แก่สหภาพโซเวียต
1 กรกฎาคม - สถาปนาโรงเรียนวัดพระศรีมหาธาตุ ณ อำเภอบางเขน (ปัจจุบันคือ เขตบางเขน) กรุงเทพมหานคร
26 กรกฎาคม - ฟิเดล คาสโตร นำการโจมตีค่ายทหารมอนคาดา เป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติคิวบา
27 กรกฎาคม - สงครามเกาหลียุติลง สหรัฐอเมริกา จีน เกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้ ลงนามในข้อตกลงสงบศึก
12 สิงหาคม - สหภาพโซเวียตทดลองระเบิดไฮโดรเจนครั้งแรก
21 กันยายน - ดาอุด เบอเรอเอะห์ ประกาศสถาปนารัฐอิสลามแห่งอินโดนีเซียขึ้นที่อาเจะห์และได้ต่อสู้กับฝ่ายสาธารณรัฐอินโดนีเซียจนถึง พ.ศ.
2505
8 ธันวาคม - ประธานาธิบดีสหรัฐ ดไวท์ ดี. ไอเซนฮาวด์ ได้จัดตั้งแผนการปรมาณูเพื่อสันติ หรือเรียกว่า Atomic for peace ขึ้นในที่ประชุม
สมัชชาสมัยที่ 8 ขององค์การสหประชาชาติ
8 ธันวาคม - ก่อตั้งสนามมวยลุมพินี
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2496


จะทำอย่างไรถ้าภัยพิบัติจากนิวเคลียร์เกิดขึ้น  Danger from radioactivity : อันตรายจากกัมมันตภาพรังสี    http://multicolorzone.blogspot.com/


ยาเม็ดโปแทสเซียมไอโอไดด์ ( ไอโอดีนเม็ด ) (KI) ป้องกันสารกัมมันตรังสี ไอโอดีน 131  
http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/thai/knowledgeinfo.php?id=48

 มีบริษัทญี่ปุ่นหลายแห่งมาตั้งบริษัทนำเข้าอาหารญี่ปุ่นในไทย มีชาวบ้านแถบปู่เจ้าสมิงพรายไปร้องเรียนกับรายการทีวีว่าได้รับผลกระทบจาก
การล้างตู้คอนเทนเนอร์ที่เน่าเสียของบริษัทรับล้างตู้  ระบาดสู่ชาวบ้านจนต้องเข้าโรงพยาบาล


ก่อนเลือกรับประทานอาหารญี่ปุ่นให้ถามแคชเชียร์ว่ามีการนำเข้าจากญี่ปุ่นหรือไม่ เพื่อกดดันฝ่ายจัดซื้อเอาไว้ เนื่องจากถ้าของขายไม่ได้นานๆ
อาจมีการทุ่มตลาด


หัวรบนิวเคลียร์เดวิดร๊อคเก็ตท์   มีการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ที่ยิงด้วยปืนใหญ่ ในปี 1953   2496 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการเข้ามาเคลื่อนไหว อพยพ
กองพล 93 ไปไต้หวัน  และมีข่าวลือ ฝุ่นนิวเคลียร์แพร่กระจายในไทย ในช่วงปี 2497-2498   และช่วงนั้นได้
มีการพิจารณาการเติมไอโอดีนในเกลือ  โดยอ้างว่า มีคนเจ็บป่วย จากโรคคอพอกเป็นจำนวนมาก เด็กที่เกิดแคระแกร็น และเป็นโรคเอ๋อ
มีการส่งหมอสูติมือหนึ่ง มาประจำที่ร้อยเอ็ด น่าจะเกี่ยวกับอัตราการกลายพันธุ์

ในอดีตได้มีการเติมสารตะกั่วในน้ำมัน ฝุ่นไอน้ำมันที่มีสารตะกั่วได้ปกคลุมเมืองใหญ่ๆ ทุกเมืองทั่วโลก จนกระทั่งสหภาพโซเวียดแตกตัว ยุติ
สงครามเย็นยุคนิวเคลียร์ จึงได้เลิกใช้สารตะกั่วเติมในน้ำมัน

ลุ่่มน้ำชีตอนล่าง มีน้ำร้อนเกิดขึ้น  คาดว่า รอยเลื่อน แนว ภูเขาไฟสุรินทร์ เกิดการคลายตัว  จากการที่เพลทอินโดนีเซียเคลื่อนตัวแรง
แต่ทางการแจ้งว่าเป็นก๊าซมีเทนในแม่น้ำ ไข่จึงสุกเป็นยางมะตูมได้
แล้วก็จะเปิดสัมปทานขุดเจาะแถวทุ่งกุลา
















มูลนิธิสภาเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
กรมทรัพยากรธรรมชาติ
FutureBombMap เนชั่นแนลจีโอกราฟฟิก













มูลนิธิสภาเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ
กรมทรัพยากรธรรมชาติ
Future Bomb Map เนชั่นแนล จีโอกราฟฟิค